การพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ และบรรจุภัณฑ์ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-035.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ และบรรจุภัณฑ์ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ ของ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ 1. ศึกษาถึงบริบท การดาเนินงานและสภาพปัญหาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสตรอเบอรี่ 2. เพื่อค้นหาศักยภาพการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสตรอเบอรี่ และ 3. เพื่อพัฒนากระบวนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปแปร รูปสตรอเบอรี่ อาเภอสะเมิง ให้เกิดความหลากหลายสอดคล้องกับศักยภาพในการผลิตของกลุ่มและ ความต้องการของตลาด มีรูปแบบการศึกษาเป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research/ PAR) โดยเน้นกระบวนการวิจัยที่ให้ความสาคัญกับการมีส่วน ของบุคคลผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย (Stakeholders) โดยนักวิจัยใช้หลักการทางานแบบหุ้นส่วน (Partnership) ระหว่าง นักวิจัยกับผู้ร่วมวิจัย มีผู้ให้ข้อมูลหลักคือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ จานวน 5 กลุ่ม มีสมาชิกจานวนทั้งสิ้น 65 คน มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วยวิธีการตรวจสอบ แบบสามเส้า (triangulation) และใช้การวิเคราะห์เนื้อหา เชิงพรรณนา (Content analysis) ผลจากการวิจัย พบว่าบริบทการดาเนินงานและสภาพปัญหาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม แปรรูปสตอเบอรี่ มีรายละเอียดดังนี้ ผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มผลิตมีความคล้ายคลึงกับผลิตภัณฑ์ทั่วไปใน ท้องตลาดไม่หลากหลาย สินค้าที่ผลิตไม่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มผู้ซื้อ ที่มีกระแสความ ต้องการบริโภคที่เปลี่ยนไป ในเรื่องสุขภาพกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขาดทักษะในการพัฒนาสินค้า ขาดองค์ ความรู้ในการที่จะนาไปสู่การสร้างความหลากหลายของสินค้า ปัญหาช่องทางการตลาด ขาดช่องทาง การตลาด/การเข้าถึงผู้บริโภคโดยตรง ขาดการขยายตลาดให้กว้างกว่าเดิม และ.การดาเนินงานของ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่ยังประสบปัญหาเรื่องการบริหารจัดการ กลุ่ม ทาให้เมื่อมีการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนอยู่ในระดับที่ต้องการการพัฒนา สาหรับการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มแปรรูปสตอเบอรี่ อาเภอสะเมิงกลุ่มวิสาหกิจมีแนวคิดที่จะผลิตสินค้าแปรรูป จากสตอเบอรี่เพื่อจาหน่ายในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวจะมีนักท่องเที่ยวขึ้นมาที่ พื้นที่อาเภอสะเมิงเป็นจานวนมาก ภายหลังการดาเนินงานวิจัย สามารถทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ 5 ประเภทคือ น้าพริกตาแดงสตอเบอรี่ น้าพริกกากหมูสตอเบอรี่ คุ๊กกี้สตอเบอรี่ ธัญพืชอบกรอบสต อเบอรี่ และกล้วยแฟนซีสตอเบอรี่ โดยทางกลุ่มจะนาเอาข้อมูลที่ได้จากการถอดบทเรียนไปใช้ในการ ตัดสินใจเลือกว่าจะผลิตสินค้าประเภทใด โดยจะพยายามไม่ผลิตสินค้าที่ซ้ากันและทาการทดลอง จาหน่ายอีกครั้งเพื่อจัดเก็บข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อไป

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development to increase diversity of products community enterprise Samoeng District Chiangmai Province
Abstract :

The objectives of this study were to: 1) explore the community enterprise context of Samoeng district, Chiang Mai province based on its operation and problem in product development ( strawberry processing) ; 2) find potential in the product development of the community enterprise; and 3) develop a participatory learning process for developing diversity of the product based on consistency with production potential and needs of markets. This study employed participation action research among the researcher, participants and stakeholders. Key informant in this study consisted of 65 members ( 5 groups) of the community enterprise ( strawberry processing) in Samoeng district obtained data checked by using triangulation method ang analyzed by using content analysis. Results of the study reveled that product of the community enterprise in Samoeng district were resemble to that of in general markets. However, the product had no diversity and was not consistent with needs of buyers who put the importance on healthcare. The community enterprise in Samoeng district still of skill and knowledge about product development. Beside the following were problems encountered: lack of market expansion; and ineffective group management, However, it had an idea to processed strawberry product for selling during Songkran festival. There were 5 kinds of new products after finishing the study: strawberry crackling chili paste, strawberry cocky, strawberry crispy baked cereal, and strawberry fancy banana. In this respect, the community enterprise in Samoeng district would collect data as a basis for making a decision to produce product kinds for selling and finding a way to develop the product again.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังสดาล กนกหงษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
300,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 300,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023