กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ วิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-035
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ วิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

แผนงานวิจัยกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

วิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม

(Participatory Action Research/ PAR) โดยเน้นกระบวนการวิจัยที่ให้ความสาคัญกับการมีส่วน

ร่วม (Participation) การร่วมมือ (Collaboration) ของบุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders)

กับสภาพปัญหาที่ต้องการแก้ไข โดยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการปรับปรุงปัญหาให้ดีขึ้น (Improve) เพื่อ

การเปลี่ยนแปลง (Change) การสร้างความรู้ใหม่ (Constructive new knowledge) โดยการ

ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะต้องบูรณการความรู้กับการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นตามสภาพจริงใน

บริบทนั้นๆ โดยนักวิจัยใช้หลักการทางานแบบหุ้นส่วน (Partnership) ระหว่างนักวิจัยกับผู้ร่วมวิจัย

ซึ่งได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบไปด้วยโครงการวิจัยย่อย

3 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ และของ

กลุ่มวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ 2) โครงการกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้เกิด

ช่องทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์วิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง และ 3) โครงการการประเมินศักยภาพ

วิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ผลจากการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้

1) โครงการพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลายผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ ผลจาก

การศึกษาสามารถเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสตอเบอรี่ ได้จานวน 5 ผลิตภัณฑ์

ได้แก่ น้าพริกตาแดงสตอเบอรี่ น้าพริกกากหมูสตอเบอรี่ คุกกี้สตอเบอรี ธัญพืชอบกรอบสตอเบอรี่

และกล้วยแฟนซีสตอเบอรี่

2) โครงการกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้เกิดช่องทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์วิสาหกิจ

ชุมชน อาเภอสะเมิง ผลจากการศึกษา ทาให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์

เพิ่มขึ้น จานวน 21 กลุ่ม โดยสามารถเชื่อมดูข้อมูลได้ที่ https://www.PRODUCT_Samoeng.com

3) โครงการการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ผลจาก

การศึกษา พบว่า จานวนกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง 94 กลุ่ม ได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ร่วมกันและนาไปสู่การพัฒนาการดาเนินงานของกลุ่มเพื่อรองรับการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน

คือ 1. ทิศทางของวิสาหกิจชุมชน 2. การวางแผนการดาเนินงานวิสาหกิจชุมชน 3. การบริหารตลาด

4. การจัดการความรู้และข้อมูลข่าวสาร และ 5. กระบวนการจัดการสินค้าและบริการ

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Learning process for developing Potential management Creative Economy of community enterprise Samoeng District Chiangmai Province
Abstract :

This study employed participatory action research focusing on participation

collaboration of stakeholders for solving problems. It aimed to improve problems for

change and new knowledge construction which must be integrated with knowledge

and actual practice in a particular context. The researcher employed partnership

principle between the researcher and conresearchers or community enterprises in

Samoeng district, Chiang Mai province. This study included 3 projects: 1) the

development project for adding diversity of strawbery processing products of the

community enterprises, 2) the learning process project for developing electronics

marketing channel of the community enterprises; and 3) the community enterprise

assessment project. Results of the study showed that the community enterprises

could add diversity of strawberry processing products we strawberry. Tadaeng chili

paste, strawberry crackling chili paste, strawberry crispy cereal, and strawberry fancy

banana. Twenty one community enterprise groups could add electronics marketing

channels which it could be seen in https: //www. PRODUCT Samoeng.com. Besides, it

was found that 94 community enterprise groups had common learning exchange

leading to the development of group operation to cope with the potential

assessment of the community enterprises in terms of the following: direction of the

community enterprises operational planning of the community enterprises marketing

Management knowledge management, and process of product and service

management.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังสดาล กนกหงษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
40 ไม่ระบุ
2 ผศ.ดร.วรทัศน์ อินทร์คคัฆพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผศ.ดร.ปริเยส สิทธิสรวง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
300,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 300,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
15 มิถุนายน 2565
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023