การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานการผลิตเมี่ยง ในภาคเหนือประเทศไทย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-034.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานการผลิตเมี่ยง ในภาคเหนือประเทศไทย
บทคัดย่อ :

งานวิจัยฉบับนีมีวัตถุประสงค์ เพือวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตเมียง ศึกษา

รูปแบบการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตเมียง และเพือศึกษาความสามารถในการบริหาร

จัดการและหาแนวทางในการพัฒนาระบบห่วงโซ่อุปทานของการผลิตเมียงในภาคเหนือ จังหวัด

ได้แก่ พืนทีบ้านแม่ลัว ตำบลป่ าแดง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่, บ้านป่ าเมียง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมือง

ปาน จังหวัดลำปาง และบ้านเหล่า ตำบลเมืองก๋าย อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบ

สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและกึงโครงสร้างเพือเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น ส่วนคือ

การวิเคราะห์ข้อมูลทางการบัญชี และการวิเคราะห์ข้อมูลด้านห่วงโซ่อุปทาน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์

ข้อมูลทังเชิงคุณภาพและปริมาณ พบว่า จังหวัดแพร่ มีต้นทุนรวมในการผลิตเมียงเฉลียเท่ากับ

บาทต่อกิโลกรัม จังหวัดลำปางมีต้นทุนรวมเฉลียเท่ากับ บาทต่อกิโลกรัม และจังหวัดเชียงใหม่

มีต้นทุนรวมเฉลียเท่ากับ บาทต่อกิโลกรัม เนืองจากจังหวัดแพร่ มีผลผลิตทีใกล้เคียงกับจังหวัด

ลำปางแต่มีการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรมากกว่าจึงมีต้นทุนรวมสูงทีสุด ผลตอบแทนจากการลงทุน

พบว่า จังหวัดแพร่ มีผลตอบแทนอยู่ระหว่าง ร้อยละ ,782.18 จังหวัดลำปาง อยู่ระหว่างร้อย

ละ และจังหวัดเชียงใหม่ อยู่ระหว่างร้อยละ ซึงถือว่าทุกจังหวัดมี

ผลตอบแทนทีคุ้มค่าต่อการลงทุน รูปแบบการบริหารห่วงโซ่อุปทานใน พืนที พบว่า มีระดับความ

ซับซ้อนน้อย ผู้เกียวข้องในระบบห่วงโซ่ประกอบด้วย เกษตกร ตัวแทนสมาชิกผู้จัดจำหน่าย และ

ลูกค้าและมีความทับซ้อนกันในหน้าที การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานเมียงอาจจำเป็นต้องใช้ห่วงโซ่

อุปทานส่วนขยายเพือบริหารความเสียงด้านการดำรงไว้ซึงวัฒนธรรมดัง เดิม และนำแนวคิดในการ

หาผู้ร่วมทุนทำโครงการการรับซือผลผลิตแบบองค์รวมมาปรับใช้เพือรักษาสมดุลของพืนทีให้มี

ความยัง ยืน

คำสำคัญ : ต้นทุนและผลตอบแทน , ผลตอบแทนและการลงทุน , ห่วงโซ่อุปทาน , เมียง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Supply Chain Analysis of Miang in the Northern of Thailand
Abstract :

The objectives of the study are to analyze cost and return the productivity of Miang, to

study the supply chain management pattern and to study the management capability of Miang also

find out the guideline to develop the supply chain system of their product. The study focuses on 3

districts within the Northern area of Thailand; Barn Mearua Pardang Sub-district Muang District

Phrae Province, Barn Par Miang Jachorn Sub-district Muang Parn District Lampang Province and

Ban Rhaw Kai Sub-district Meatang District Chiangmai Province. The structure and semi-structure

interview are used for collecting data. The process of data analysis is divided into 2 parts, there are

the accounting data analysis and the supply chain data analysis. The analysis is interpreted both

quality and quantitative form. The result finds that the average total cost of product in Phrae

Province is equal to 12.62 baht per kilogram. In Lampang Province there is an average of that cost

equal to 0.69 baht per kilogram while in Chiangmai the average total cost of product is 4.96 baht

per kilogram. Although the quantity of product in Phrae Province is not difference from Lampang

Province, but it has the most investment on fixed asset when compared with 3 Province in this case

can be affected to the most total cost in Phrea Province. The result of return on investment found

that the ROI in Phrae Province is between 780.13-4,782.18 percent, in Lampang is between 90.80-

789.80 percent and in Chiangmai is between 90.80-525.63 percent. It can be shown that the return

is worthiness to investment in all 3 Provinces. The study of supply chain in those 3 areas found that

the complexity of supply chains is not complicate, the stakeholder within supply chain composed

of the farmer, the distributor and the customer and their function can be overlaid each other. The

extended supply chain might be used for development of supply chain of Miang to manage the risk

of cultural impact. Moreover, the concept of investor for joint venture should be applied to the

project for maintain the balance of sustainable development.

Keyword : cost and return, return of investment, supply chain, Miang
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-034 : การประยุกต์ใช้ชาเมี่ยงให้เกิดประโยชน์ทางการแพทย์และเภสัชกรรม
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.อารีกมล ต.ไชยสุวรรณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
55 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.สิริยุพา เลิศกาญจนาพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
45 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
352,100.00
   รวมจำนวนเงิน : 352,100.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
17 กรกฎาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023