การประยุกต์ใช้เมี่ยงหมัก และน้ำเมี่ยงให้เกิดประโยชน์ทางการแพทย์และเภสัชกรรม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-034.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประยุกต์ใช้เมี่ยงหมัก และน้ำเมี่ยงให้เกิดประโยชน์ทางการแพทย์และเภสัชกรรม
บทคัดย่อ :

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสกัดสารด้วยตัวทำละลายชนิดต่างๆของใบเมี่ยง

สดและใบเมี่ยงหมักที่ได้จากกระบวนการหมักตามภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านป่ าเหมี้ยง

จังหวัด แพร่ น่าน ลำปาง และ เชียงใหม่ ศึกษาฤทธ์ิทางชีวภาพในการต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟี

นอลิกทั้งหมดและการต้านแบคทีเรีย โดยเก็บตัวอย่างใบเมี่ยงหมักและใบเมี่ยงสด ใบเมี่ยงหมัก

ลักษณะกายภาพมีสีเขียวอมเหลือง กลิ่นเปรี้ยว มีความเป็นกรด มีอายุการหมัก 6 เดือน มาสกัดสาร

ด้วยตัวทาละลาย 95 % เอทานอล ได้สารสกัด 8 ตัวอย่าง ได้แก่ ใบเมี่ยงหมักชั้นเอทานอลและใบ

เมี่ยงสดชั้นเอทานอล จากการวิเคราะห์การต้านจุลินทรีย์ของสารสกัด พบว่า สารสกัดใบเมี่ยงหมัก

และใบเมี่ยงสดมีฤทธ์ิยับยั้งแบคทีเรียทดสอบได้ทุกชนิด ได้แก่ Bacillus cereus, Escherichia coli,

Pseudomonas aeruginosa, Propionibacterium acnes, Staphylococcus aureus และ S. epidermidis

ได้ โดยใบเมี่ยงสดแสดงฤทธ์ิการยับยั้งแบคทีเรีย P. acnes ได้ดีที่สุดแสดงค่าวงใสการยับยั้งการ

เจริญเท่ากับ 19.5 มิลลิเมตร และใบเมี่ยงหมักแสดงฤทธ์ิยับยั้งแบคทีเรีย P. acnes ได้ดีที่สุดแสดงค่า

วงใสการยับยั้งการเจริญ เท่ากับ 18.9 มิลลิเมตร รองลงมา ได้แก่ แบคทีเรีย S. epidermidis, B. cereus,

S. aureus และ E. coli โดยแสดง ค่าวงใสในการยับยั้งการเจริญเท่ากับ 19.4, 18.9, 18.6 และ

18.2 มิลลิเมตร ตามลำดับ ผลการวิจัยระดับ ฟีโนลิกรวม (Total phenolic content, TPC) และ

ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ พบว่า ใบชาอัสสัม มีค่าเฉลี่ย 14.03 ไมโครโมล และการแยกสารเคมีจากใบชาอัสสัมแห้ง (Camellia sinensis var. assamica) พบสารอิพิคาเทชิน (C-epicatechin) การบ่งชนิด

สารเคมีแก่ใบชาอัสสัม อาศัยข้อมูลที่วิเคราะห์ด้วยเทคนิค UV. IR และ NMR สเปกโตรสโคปี

คำสำคัญ : ใบเมี่ยงสด ใบเมี่ยงหมัก พฤษเคมี ฤทธต้านแบคทีเรีย ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Application of Fermented Tea Leave and Fermented Tea Processing Water for Medicinal and Pharmaceutical Potential
Abstract :

The aim of this study was to investigated various solvent extracts of pickled tea leave and

fresh tea leave from fermentation of pickled tea leave by local wisdom in Par-Miagng area on Phrae,

Nan, Lamphang and Chiang Mai Province to display potent antioxidant activity, total phenolic

contents and antibacterial properties in order to find possible sources for bioactive substances in

pharmaceutical application. Samples of fresh tea leave and pickled tea leave fermented which

yellow-greenish color, strong fermented odor and acidity in fermented period of 6 months were

collected and extracted with 95 % ethanol. Eight types of crude extract including ethanol crude

extract of pickled tea leave and ethanol crude extract of fresh tea leave were investigated to

antibacterial activity. Antibacterial of all crude extracts were inhibited the growth of bacteria

including Bacillus cereus, Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa, Propionibacterium acnes,

Staphylococcus aureus and S. epidermidis. The highest inhibition effect of ethanol crude extract of

pickled tea leave were P. acnes with the inhibition zone of 19.5 mm and the strongest inhibition

effect of ethanolic crude extract of fresh tea leave were P. acnes with the inhibition zone of 18.9

mm, followed by S. epidermidis, B. cereus, S. aureus and E. coli with the inhibition zone of 19.4,

18.9, 18.6 and 18.4 mm, respectively.The results from the study of TPC (Total phenolic content)

and antioxidant in green tea products shows that Assam green tea has an average phenolic content

of 17.54 mg GAE/g sample making it the sample with the highest average phenolic content. The

antioxidant test, Assam green tea has the highest average of 14.03 micromol and isolation of

chemical constituents of the dried leaves of Camellia sinensis var. assamica were (-) epicatechin.

Their structures were elucidated on the basis of UV, IR and NMR spectroscopic data.

Keyword : Fresh tea leave, Pickled tea leave, Phytochemicals, Antibacterial, Antioxidant
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-034 : การประยุกต์ใช้ชาเมี่ยงให้เกิดประโยชน์ทางการแพทย์และเภสัชกรรม
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มธุรส ชัยหาญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
38 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
32 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.วชิระ ชุ่มมงคล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
517,800.00
   รวมจำนวนเงิน : 517,800.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023