ลักษณะนิเวศและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของสวนชาเมี่ยงในภาคเหนือประเทศไทย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-034.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ลักษณะนิเวศและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของสวนชาเมี่ยงในภาคเหนือประเทศไทย
บทคัดย่อ :

การศึกษาลักษณะนิเวศของสวนชาเมี่ยงในจังหวัดเชียงใหม่ ลาปาง แพร่ และน่าน ในภาคเหนือประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความหลากชนิดและลักษณะทางนิเวศของสวนชาเมี่ยงตามปัจจัยแวดล้อม (สมบัติดิน และภูมิอากาศ) เพื่อใช้เป็นเป็นฐานข้อมูลในการจัดการใช้ประโยชน์สวนชาเมี่ยงอย่างยั่งยืน โดยทาการเลือกพื้นที่ 4 หมู่บ้านที่เป็นตัวแทนในแต่ละจังหวัดประกอบด้วย บ้านเหล่า จังหวัดเชียงใหม่ บ้านป่าเหมี้ยง จังหวัดลาปาง บ้านแม่ลัว จังหวัดแพร่ และ บ้านศรีนาป่าน จังหวัดน่าน สัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่สุ่มเลือกตัวแทนพื้นที่ละ 5 แปลง วางแปลงสารวจพืชที่ขึ้นร่วมกับสวนชาเมี่ยง เก็บตัวอย่างดิน ทั้งดินชั้นบน (0-5 cm) และดินชั้นล่าง (20-25 cm) วิเคราะห์สมบัติดินทั้งทางเคมีและกายภาพ ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบพรรณไม้ในสวนชาเมี่ยง บ้านเหล่า จังหวัดเชียงใหม่ บ้านป่าเหมี้ยง จังหวัดลาปาง บ้านแม่ลัว จังหวัดแพร่ และบ้านศรีนาป่าน จังหวัดน่าน พบพรรณไม้จานวน 14-22 ชนิด จานวน 11-22 สกุล และจานวน 12-16 วงศ์ ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Weiner มีค่าเท่ากับ 0.16-1.24 สมบัติดินในพื้นที่สวนเมี่ยงมีความเป็นกรดสูง และดินชั้นล่างจะมีค่าความเป็นกรดสูงกว่าดินชั้นบน สมบัติดินชั้นบนมีความอุดมสมบูรณ์สูงกว่าดินชั้นล่าง อนุภาคดินเหนียวมีสัดส่วนที่สูง และความแข็งของดินชั้นล่างสูงกว่าดินชั้นบนและเป็นสัดส่วนผกผันกับความชื้นดิน ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยในพื้นที่มีค่าระหว่าง 1,169.3 -1,260.6 มิลลิเมตรต่อปี ตามลาดับ

คำสำคัญ : ลักษณะนิเวศ , การใช้ประโยชน์ที่ดิน , ชาเมี่ยง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Ecological charateristics and land-use changes of Miang tea garden in Northern Thailand
Abstract :

The study of ecological characteristics of Camellia sinensis var. assamica (Miang tea garden) was conducted in Chiang Mai, Lampang, Phrae and Nan Province northern of Thailand. Plants biodiversity were studied and related to factors such as soil property and climatic data. Basic data will be managed with “Miang tea garden”. Four villages were chosen for representative of Miang tea garden, Ban Lao village at Chiang Mai province, Pa miang village at Lampang province, Mae lua village at Phrae province and Sri napan village at Nan province. Five plots of each village were interviewed farmers. Vegetation sample plot was surveyed of each miang tea garden. Soil sampling were collected surface soil (0-5 cm) and sub-surface soil (20-25 cm). Soil samples were analyzed soil chemical and physical property. Result shown that; Species composition in miang tea garden at Four viilages found vegetation species around 14 to 22species, 11 to 22 genus and 11-22 familys and Shannon-Weiner index were 0.16 to 1.24. Soil Acid value of both sites were high and sub-surface soil was higher than surface soil. Soil fertility at surface soil was higher than sub-surface soil. The percentage of clay mineral were high almost of both sites. Soil hardness at sub-surface soil was higher than surface soil and inverse variation with soil moisture. Annual rainfall at Nan province and Phrae province were 1,169.3 to 1,260.6 mm/year respectively.

Keyword : Ecological charateristics, Landuse, Miang
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-034 : การประยุกต์ใช้ชาเมี่ยงให้เกิดประโยชน์ทางการแพทย์และเภสัชกรรม
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา มังกิตะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
497,200.00
   รวมจำนวนเงิน : 497,200.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
23 มกราคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : การประชุมวิชาการเครือข่ายนิเวศวิทยาป่าไม้ประเทศไทย
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023