การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรกระชายดำผงสำเร็จรูปพร้อมดื่ม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-032.5
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรกระชายดำผงสำเร็จรูปพร้อมดื่ม
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัด การทาแห้ง ความคงตัว อายุการเก็บรักษา สารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์สมุนไพรกระชายดาผงสาเร็จรูปพร้อมดื่ม จากผลการวิจัยพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดแอนโทไซยานินจาก กระชายดา จากการทดลองพบว่า สภาวะการสกัดที่ได้แอนโทไซยานินจากกระชายดามากที่สุด คือ ที่อัตราส่วนของกระชายดาต่อน้า 1:40 กรัมต่อมิลลิลิตร และระยะเวลาในการสกัด 60 นาที นอกจากนี้ยังพบว่าเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นมีผลต่อความคงตัวของสารสกัดแอนโทไซยานินอย่างมีนัยสาคัญ จากนั้นทาการศึกษาสูตรที่เหมาะสมของผลิตภัณฑ์สมุนไพรกระชายดาผงสาเร็จรูปพร้อมดื่ม โดยใช้การออกแบบส่วนผสม (mixture design) ปัจจัยที่ศึกษามี 3 ปัจจัย คือ ปริมาณของผงสารสกัดจากกระชายดา ใบเตย และหญ้าหวาน ร้อยละ 0.1-1 (โดยน้าหนักต่อปริมาตร) ทาการทดลองผลิตสมุนไพรกระชายดาผงสาเร็จรูปพร้อมดื่มทั้งหมด 10 สูตร ผลการทดลองพบว่าตัวอย่างที่ประกอบด้วยผงสารสกัดจากกระชายดา ร้อยละ 0.7 ใบเตย ร้อยละ 0.25 และหญ้าหวาน ร้อยละ 0.25 โดยน้าหนักต่อปริมาตร (สูตรที่ 8) ได้รับการยอมรับมากที่สุด หลังจากนั้นนาสูตรที่ดีที่สุดในการผลิตเครื่องดื่มสมุนไพรนี้มาทาการศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่อุณหภูมิ 35 และ 45 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การสลายตัวของสารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระเป็นไปตามความสัมพันธ์ของปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง โดยเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจะทาให้ค่าครึ่งชีวิตของสารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระในเครื่องดื่มสมุนไพรลดลง ซึ่งอุณหภูมิและเวลามีผลต่อความคงตัวของสารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของเครื่องดื่มสมุนไพรอย่างมีนัยสาคัญ

คำสำคัญ : กระชายดาผงสาเร็จรูปพร้อมดื่ม สารประกอบฟีนอลิก ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ อายุการเก็บรักษา
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Instant Herbal Beverage from Kaempferia parviflora Wallich. ex Baker
Abstract :

The objective of this research was to study the conditions that optimize the extraction, drying, shelf-life, phenolic compound and antioxidant activity of instant herbal beverage from black ginger (Kaempferia parviflora Wallich. ex Bake). The results showed that the highest anthocyanin content extracted from black ginger was obtained when the extraction process had 1:40 of the ratio with black ginger : water and extraction time for 60 minutes. Furthermore, the temperature has a significant affected the stability of anthocyanin. Then, it was to study the optimization of formula for instant herbal beverage from black ginger by using mixture design. Three factors were conducted, 0.1-1% (w/v) of powdered black ginger extract , powdered Stevia rebaudiana Bertoni extract and powdered Pandanus amaryllifolius extract, thus there are 10 experimental formulas. The result found that the best formulation for instant herbal beverage was 0.7% of powdered black ginger extract, 0.25% powdered Stevia rebaudiana Bertoni extract and 0.25% of powdered Pandanus amaryllifolius extract, weight by volume (formula 8). The finished product were stored at 35?C and 45?C for 10 weeks. It was found that the degradation rate of phenolic compound and antioxidant activity during storage followed the first-order reaction kinetic. The storage temperatures and times were significant effect on phenolic compound and antioxidant activity of the instant herbal beverage.

Keyword : Instant beverage from Black ginger, Phenolic compound, Antioxidant activity, Shelf life
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-032 : การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 ดร.นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร / สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
3 รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร อมรเลิศพิศาล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นักรบ นาคประสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 อาจารย์ ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
340,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 340,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023