ผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดำ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-032.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดำ
บทคัดย่อ :

จากการศึกษาผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดา โดยการปลูกภายใต้การพรางแสงที่ระดับ 50 เปอร์เซ็นต์ 60 เปอร์เซ็นต์ และ 70 เปอร์เซ็นต์ เปรียบเทียบกับการไม่พรางแสง (control) ณ แปลงอินทรีย์ สาขาพืชผัก คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2563 โดยทาการศึกษาด้านการเจริญเติบโตของกระชายดาเป็นระยะเวลา 25 สัปดาห์ พบว่า สัปดาห์แรกที่เริ่มงอกจนถึงสัปดาห์ที่ 15 และสัปดาห์ที่ 21 ถึงสัปดาห์ที่ 25 ต้นกระชายดามีการเจริญเติบโตไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่ปรากฏความแตกต่างกันทางสถิติในช่วงระยะที่สองคือในสัปดาห์ที่ 16 จนถึงสัปดาห์ที่ 20 ด้านผลผลิตและปริมาณสารฟลาโวนอยด์พบว่าในทุกระดับการพรางแสงไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

คำสำคัญ : กระชายดา , พรางแสง , สารออกฤทธิ์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Effects of light intensity on growth, yield and some bioactive compounds of Kaempferia parviflora Wall. ex Baker
Abstract :

The study on the effects of light intensity on growth, yield and some bioactive compounds of Kaempferia parviflora Wallich. ex Baker had been done at Division of vegetable, Faculty of Agricultural Production, Maejo University from May 2019 to May 2020. Plants were grown under 50%, 60% and 70% shading sarans as compared with no shading (control). It was found that at the first week of germination until the 15th week and during 21st week, the 25th Kaempferia parviflora Wall. ex Baker did not show significantly different growth. However, there were growth significant differences in the second phase from the 16th week to the 20th week. All the treatments showed no significant differences in plant yield and flavonoid contents.

Keyword : Kaempferia parviflora, shading, bioactive compounds
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-032 : การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.แสงเดือน อินชนบท
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 นางสาวปภากร สุทธิภาศิลป์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
340,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 340,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
29 กันยายน 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : เชิงพาณิชย์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023