การเพาะเลี้ยงแคลคูลัสและการใช้รังสีแกมมาสำหรับชักนำให้เกิดความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกระชายดำ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-032.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเพาะเลี้ยงแคลคูลัสและการใช้รังสีแกมมาสำหรับชักนำให้เกิดความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกระชายดำ
บทคัดย่อ :

การศึกษาผลของรังสีแกมมาความเข้มข้นแตกต่างกัน 13 ระดับ คือ 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 และ 60 เกรย์ ที่มีต่อความแปรปรวนทางพันธุกรรมของกระชายดา ทาการทดลองระหว่างเดือนมกราคม 2562 ถึงเดือนเมษายน 2563 ณ สานักฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าระดับความเข้มข้นของรังสีแกมมาที่เหมาะสาหรับนามาใช้ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ของต้นอ่อนกระชายดาไม่ควรเกิน 75 เกรย์ โดยระดับความเข้มข้นของรังสีแกมมาที่สูงขึ้น ส่งผลให้การเจริญเติบโตในด้านจานวนหน่อ ผลผลิต และประมาณสารฟลาโวนอยด์ของกระชายดาลดลง แต่ไม่มีผลต่อขนาดของลาต้นเทียม ความกว้างและความยาวของใบกระชายดา และยังพบว่า การได้รับรังสีแกมมาความเข้มข้นสูง ส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางสัณฐานวิทยาของกระชายดา โดยเกิดใบด่าง ขอบใบบิดเบี้ยวม้วนงอ ลาต้นแคระแกร็น เหง้ามีขนาดเล็กลง และเกิดรากสะสมอาหารขนาดใหญ่ เป็นต้น

คำสำคัญ : กระชายดา รังสีแกมมา ความแปรปรวนทางพันธุกรรม เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Callus Culture and Gamma Ray Treatments Used for Induction of Somaclonal Variation in Kaempferia parviflora Wallich. ex Baker
Abstract :

This research studied on the effects of 13 different doses of acute gamma irradiation include 0, 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45, 50, 55 and 60 Gy to induce genetics variations of Kaempferia parviflora. The experiments were conducted between January 2019 and April 2020 at the demonstration farm of Maejo University, Chiang Mai. Radiation sensitivity tests revealed that the LD50 values were achieved at 75 Gy. In irradiated plants, the number of shoots, weight of rhizome and flavonoids content decreased significantly as the radiation dose increased. In addition, the height concentration of gamma irradiation induce morphological variations of K. parviflora include leaf chlorosis, dwarf plant, small size of rhizome and large size of root storage etc.

Keyword : Kaempferia parviflora, Gamma radiation, Genetics variations, Plant tissue culture
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-032 : การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.กิตติคุณ พระกระจ่าง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.สุรีย์พร สราภิรมย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.แสงเดือน อินชนบท
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
340,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 340,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023