การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-032
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดำ
บทคัดย่อ :

โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรไทย: กรณีศึกษากระชายดา ประกอบด้วย 5 โครงการย่อย ได้แก่ 1) การเพาะเลี้ยงแคลลัสและการใช้รังสีแกมมาสาหรับชักนาให้เกิดความแปรปรวนทางพันธุกรรมในกระชายดา 2) ผลของปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดา 3) ผลของความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดา 4) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ป้องกันรังสียูวีจากสารสกัดกระชายดาในรูปไมโครเอนแคปซูเลท และ 5) การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรกระชายดาผงสาเร็จรูปพร้อมดื่ม ทาให้เกิดการพัฒนาและบูรณาการสมุนไพรกระชายดาอย่างครบวงจร จากองค์ความรู้เรื่องความแปรปรวนทางพันธุกรรมและความหลากหลายของลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกระชายดาที่เกิดจากการได้รับรังสีแกมมาสาหรับนาไปใช้ในการคัดเลือกเพื่อให้ได้กระชายดาสายพันธุ์ใหม่ ชนิดของปุ๋ยมูลสัตว์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดา การพรางแสงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต และปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบางชนิดของกระชายดา การสกัดสารกลุ่มฟลาโวนอยด์จากกระชายดาให้อยู่ในรูปของไมโครเอนแคปซูเลชัน สาหรับใช้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันรังสียูวี และการสกัด การทาแห้ง ความคงตัว อายุการเก็บรักษา สารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์สมุนไพรกระชายดาผงสาเร็จรูปพร้อมดื่ม

คำสำคัญ : กระชายดา การพัฒนา การผลิตพืชสมุนไพร การใช้ประโยชน์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Thai Herbal Production and Utilization: A Case Study of Kaempferia parviflora Wallich. ex Baker
Abstract :

The five subprojects of Development of Thai herbal production and utilization: a case study of Kaempferia parviflora Wallich. ex Baker. project include 1) Callus culture and gamma ray treatment used for induction of somaclonal variation in K. parviflora. 2) Effects of animal manure on growth, yields and some bioactive compounds of K. parviflora. 3) Effects of light intensity on growth, yields and some bioactive compounds of K. parviflora. 4) Development of UV rays protection product from K. parviflora extract in microencapsulate form. And 5) Development of Instant Herbal Beverage from K. parviflora. That were development and integration of Thai herbal (K. parviflora) from the knowledge on Gamma ray treatment used for genetic variations and morphological diversity of K. parviflora and the selection for new species. The method of K. parviflora production flow management include fertilization and lighting techniques. And the development and evaluation of K. parviflora formulation such as cosmetic and health supplement products.

Keyword : Kaempferia parviflora, Development, Herbal production, Utilization
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
40 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.แสงเดือน อินชนบท
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
4 ดร.นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร / สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีณา นิลวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
160,100.00
   รวมจำนวนเงิน : 160,100.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
29 กันยายน 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : เชิงพาณิชย์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023