การใช้ประโยชน์แมลงศัตรูธรรมชาติ และการวัดมูลค่าความเป็นประโยชน์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมโดยชีววิธี: กรณีศึกษา ในนาข้าวและพืชผักวงศ์กะหล่ำในระบบเกษตรอินทรีย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-031.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การใช้ประโยชน์แมลงศัตรูธรรมชาติ และการวัดมูลค่าความเป็นประโยชน์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมโดยชีววิธี: กรณีศึกษา ในนาข้าวและพืชผักวงศ์กะหล่ำในระบบเกษตรอินทรีย์
บทคัดย่อ :

โครงการวิจัยเรื่อง การใช้ประโยชน์แมลงศัตรูธรรมชาติ และการวัดมูลค่าความเป็นประโยชน์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมโดยชีววิธี: กรณีศึกษา ในนาข้าวและพืชผักวงศ์กะหลํ่า ในระบบเกษตรอินทรีย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ปีงบประมาณแรกของการวิจัย) ได้ดำเนินการศึกษาข้อมูลด้าน ความต้องการของเกษตรกร นิเวศวิทยา และนิเวศวิทยาประชากรของแมลงศัตรูพืชที่พบในแปลงปลูกข้าว และพืชผักวงศ์กะหลํ่า ในพื้นที่ภาคเหนือรวม 8 จังหวัดได้แก่ เชียงราย พะเยา เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง แพร่ และน่าน พบว่าชนิดของแมลงศัตรูพืชซึ่งซึ่งสามารถใช้แมลงศัตรูธรรมชาติในเป้าหมายซึ่งได้แก่ มวนพิฆาต (Stink bug, Eocanthecona furcellata, Hemiptera: Pentatomidae) และ แตนเบียนไข่ Trichogramma spp. (Hymenoptera: Trichogrammatidae) ได้แก่ แมลงกลุ่มหนอนกอข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนกินใบข้าว หนอนผีเสื้อศัตรูพืชผักวงศ์กะหลํ่าในวงศ์ Crambidae และ Noctuidae ทุกชนิด รวมทั้งหนอนผีเสื้อกะหลํ่าและหนอนชอนใบ ซึ่งประชากรของแมลงศัตรูธรรมชาติที่มีอยู่ แม้ว่าจะมีการขึ้นลงของประชากรผันตามประชากรของแมลงศัตรูพืช แต่ในแปลงปลูกยังมีไม่เพียงพอสำหรับการควบคุมประชากรของหนอนเหล่านี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแปลงพืชผักวงศ์กะหลํ่า ทั้งนี้จาการศึกษาสภาพทางนิเวศวิทยาของพื้นที่ ผลการวิจัยปีที่หนึ่งชี้ว่ามีความเป็นไปได้ในการปลดปล่อยแมลงศัตรูธรรมชาติในพื้นที่ศึกษา

คำสำคัญ : แมลงศัตรูธรรมชาติ , แมลงศัตรูข้าว , แมลงศัตรูพืชผักวงศ์กะหลํ่า
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Utilization of the Insect Natural Enemies and their Beneficial Value for Biological Con-trol of Insect Pests: the Case Study of insect pests in Organic Paddy Fields and Crucifer-ous Crops
Abstract :

Utilization of the insect natural enemies and their beneficial value for biological control of insect pests: the case study of insect pests in organic paddy fields and cruciferous crops was conducted in the fisal year 2019. Famer interview, ecology and insect ecology information were studied at paddy and crusiferous crops in 8 northern districts, Chiang Rai, Chiang Mai, Mae hong Son, Lamphoon Lampang Phrae and Nan from March, 2019 to 2020. It was found that insect pests associated with the target insect natural enemies, the stink bug, Eocanthecona furcellata (Hemiptera: Pentatomidae) an egg parasitoids, Trichogramma sp. (Hymenoptera: Trichogrammatidae) on the larval and egg stages of Lepidopteran pests including, rice stemborer, rice leaffolder and other rice leaf eaters while insect pest of cruciferous crops were Crambidae, Noctuidae, as well as leafminer. Although the insect natural enemies were found and their population dynamic was associated with insect pests in a density dependent manner but did not meet the control level especialy in cruciferous crops. All over information of ecology evaluated at field condition indicated that, it is possible to release the two target insect natural enemies in the fields for biological control of the pests.

Keyword : insect natural enemies, insect pest of rice, insect pest of crusiferious crops
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นายบัณฑิต ต๊ะเสาร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร / สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์ ศิริบูรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
360,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 360,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023