การศึกษาต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติภายใต้ระบบห่วงโซ่มูลค่าเพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีในเชิงพาณิชย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-031.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติภายใต้ระบบห่วงโซ่มูลค่าเพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีในเชิงพาณิชย์
บทคัดย่อ :

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนทางการเงินของการ

สร้างโรงงานผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติต้นแบบ การศึกษาใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการ

ทดลองในโรงงานต้นแบบ ศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีด้านการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี มหาวิทยาลัย

แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกแบบสมบูรณ์ (Randomized Complete

Block Design: RCBD) มี 3 สิ่งทดลอง (Treatments) คือ ชนิดแมลงศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ มวลพิฆาต

มวลเพชรฆาต และแตนเบียน ทาการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและการวิเคราะห์ทางการเงินโดยวัด

ความคุ้มค่าโครงการด้วยมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) ระยะเวลาคืน

ทุน (Payback Period) อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อทุน (B/C Ratio) รวมทั้งการวิเคราะห์ความ

อ่อนไหว (Sensitivity Analysis) ของโครงการ

ผลการศึกษาโดยจาแนกต้นทุนตามองค์ประกอบของต้นทุนและพฤติกรรมต้นทุนพบว่า

พบว่าต้นทุนการผลิตต่อหน่วยของการผลิตตัวอ่อนมวนพิฆาตมีต้นทุนต่อหน่วยต่า ที่สุด รองลงมา

คือ ตัวอ่อนมวนเพชฌฆาต และตัวเต็มวัยมวนเพชฌฆาต ตามลาดับ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์

ต้นทุน – ปริมาณ – กา ไร พบว่าผลิตภัณฑ์ไข่มวนพิฆาตมีจุดคุ้มทุนต่า ที่สุด รองลงมาคือไข่แตน

เบียน โครงสร้างต้นทุนการผลิตพบว่ามีสัดส่วนของต้นทุนคงที่รวมต่อต้นทุนผันแปรรวมในสัดส่วนที่ไม่แตกต่างกันในแต่ละผลิตภัณฑ์ ผลการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินของโครงการ

สร้างโรงงานผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติต้นแบบ พบว่าโครงการมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เท่ากับ

41,221.03 บาท (ที่อัตราคิดลดร้อยละ 10.08) อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) เท่ากับร้อยละ 10.38

ระยะเวลาคืนทุน เท่ากับ 3 ปี 4 เดือน สามารถคืนทุนได้ภายในอายุโครงการ อัตราส่วนผลประโยชน์

ต่อต้นทุน เท่ากับ 1.0129 ผลการวิเคราะห์ทางการเงินเสนอว่าโครงการลงทุนมีความน่าลงทุน ส่วน

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของการลงทุนด้วยวิธี Sensitivity Analysis พบว่าปัจจัยด้าน

ผลตอบแทนมีความอ่อนไหวมากกว่าปัจจัยด้านต้นทุน ผลการศึกษาสอดคล้องกับผลการทดสอบ

ความอ่อนไหวของการลงทุนด้วยวิธีการทดสอบมูลค่าการแปรเปลี่ยน (Switching Value Test) ที่

พบว่ามูลค่าการแปรเปลี่ยนกรณีผลตอบแทนมีความเสี่ยงสูงมากและส่งผลต่อมูลค่าปัจจุบันสุทธิ

อย่างมาก ผลการศึกษานี้ให้ข้อเสนอแนะว่าในการดา เนินการผลิตควรมุ่งให้ความสาคัญเป็นพิเศษ

กับปัจจัยที่จะส่งกระทบต่อผลตอบแทนหรือรายได้จากการจาหน่าย และการพยายามลดต้นทุนการ

ผลิตลงอย่างต่อเนื่อง

คำสำคัญ : การวิเคราะห์ต้นทุน การบริหารต้นทุน ผลตอบแทนทางการเงิน การผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : A Study on the Production Costs and Economic Returns of Insect Natural Enemy Production under the Value Chain System for Commercial Biological Control
Abstract :

The purpose of this research is to investigate the production costs and financial returns

of a plant that produces insects as natural enemies. Data collection was conducted at the Biological

Control Technology Learning Center – a pilot plant developed by Maejo University, Chiang Mai.

This study used an experimental design with the randomized complete block design (RCBD) and

the treatment of three kinds of insects: the stink bug, assassin bug, and trichogramma spp. The

production costs of insects as natural enemies and the financial returns of the investment were

analyzed using financial approaches comprising of net present value (NPV), internal rate of return

(IRR), payback period, benefit-cost ratio (B/C Ratio), and the sensitivity analysis approaches.

The results revealed that, based on production components and cost behavior, the

category with the lowest cost per unit was the stink bugs in the nymph stage, followed by the

assassin bugs in the nymph stage, and the assassin bugs in the adult stage, respectively. The results

of the cost-volume-profit analysis (CPV analysis) showed that the egg stage of the stink bug had

the lowest break-even point, followed by the egg stage of the trichogramma spp. In addition, it was

found that the cost structure of the product cost had the same proportion as the variable and fixedcosts. The financial analysis showed financial returns of 41,221.03 baht (at discount rate 10.08

percent) net present value (NPV), internal rate of return (IRR) of 10.38 percent, a break-even time

of three years and four months, and benefit-cost ratio (B/C Ratio) of 1.0129. Therefore, the findings

of financial analysis suggest that the project is an economically optimal investment. Furthermore,

findings from sensitivity analysis demonstrated that changes in the level of benefit factors have

more impact on project returns than the level of cost factors. These findings are consistent with

results from the switching value test which showed that the level of benefit factors is risker than

the cost factor, and that they also have high impact on the net present value of the project. The

findings from this research suggest that the production of insects as natural enemies should first

focus on benefit-related factors which have a relative impact on returns and revenues, then on

concentrating on continuously reducing production costs.

Keyword : Cost Analysis, Cost Management, Financial Returns, Insect Natural Enemy Production
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนียา บังเมฆ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี สิงหะวาระ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
280,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 280,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023