การสร้างและพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-029.4
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การสร้างและพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
บทคัดย่อ :

การศึกษาครั??งนี??มีวัตถุประสงค์เพื??อ ??)สร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที??ได้

จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ??งทางการเกษตร และ ??) พัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของ

ผลิตภัณฑ์ที??ได้จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ??งทางการเกษตร ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้

แบบสอบถามกับกลุ่มผู้ซื??อเป้าหมายจำนวน ??,?????? ราย และใช้การสนทนากลุ่มกับกลุ่มเกษตรกร ??

กลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า

การสร้างตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ที??ได้จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ??งทางการเกษตร

ของกลุ่มเกษตรกรทั??ง ?? กลุ่ม เป็นการสร้างที??อยู่บนพื??นฐานข้อมูลองค์ประกอบตราสินค้าที??มาจาก

ความต้องการของกลุ่มผู้ซื??อเป้าหมาย และเมื??อตราสินค้าได้รับการพัฒนาแล้ว พบว่า เป็นตราสินค้าที??

กลุ่มผู้ซื??อเป้าหมายมีความพึงพอใจในองค์ประกอบของตราสินค้าในระดับมากที??สุด

การสร้างบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที??ได้จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ??งทางการเกษตรของ

กลุ่มเกษตรกรทาง กลุ่ม เป็ นการสร้างทีอยู่บนพืนฐานข้อมูลองค์ประกอบบรรจุภัณฑ์ทีมาจาก

ความต้องการของกลุ่มผู้ซือเป้าหมาย และเมือบรรจุภัณฑ์ได้รับการพัฒนาแล้ว พบว่า เป็ น

บรรจุภัณฑ์ทีกลุ่มผู้ซือเป้าหมายมีความพึงพอใจในองค์ประกอบของบรรจุภัณฑ์ในระดับมากทีสุด

คำสำคัญ : ตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ เศษวัสดุเหลือทิศทางการเกษตร
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Creation and development of brand and Packaging of Product from Processing Agricultural Residue
Abstract :

The objectives of this study are 1) creating the brand and packaging of processing

agricultural residues products and 2) developing the brand and packaging of processing

agricultural residues products. Data is collected by using questionnaires with a group of 2,400

target buyers and using focus group discussions with two groups of farmers.

The creation of brand of processing agricultural residues products for two farmers'

groups. The brand creation is based on the brand composition information that comes from the

needs of target buyers. When the brand creation is developed, it finds that the target buyers are

most satisfied with the branding components.

The creation of packaging of processing agricultural residues products for two farmers'

groups. The packaging creation is based on the packaging composition information that comes

from the needs of target buyers. As the packaging creation is developed, it finds that the target

buyers are most satisfied with the packaging components.

Keyword : Brand, Packaging, Agricultural Residue
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.จำเนียร บุญมาก
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
75 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
260,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 260,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
18 ธันวาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ :
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023