ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบอัจฉริยะเพื่อคัดเลือกวิสาหกิจเข้าสู่คลัสเตอร์อุตสาหกรรมลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-027.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบอัจฉริยะเพื่อคัดเลือกวิสาหกิจเข้าสู่คลัสเตอร์อุตสาหกรรมลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบการจัดการการผลิตลาไยอบแห้งเนื้อสีทองด้วยเครือข่ายดิจิทัล 2) วิเคราะห์การตลาดยุคดิจิทัลสาหรับผลิตภัณฑ์ลาไยอบแห้งเนื้อสีทอง 3) สร้างระบบสนุนการตัดสินใจสาหรับการคัดเลือกวิสาหกิจและองค์กรที่เกี่ยวข้องเข้าสู่คลัสเตอร์อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปลาไยอบแห้งเนื้อสีทอง 4) บูรณาการระบบการผลิตและการตลาดของวิสาหกิจชุมชนลาไยอบแห้งเนื้อสีทองด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 5) ถ่ายทอดองค์ความรู้และผลผลิตจากงานวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมายให้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยกลุ่มตัวอย่างเลือกจากผู้ประกอบการวิสาหกิจและผู้ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมลาไยอบแห้งเนื้อสีทองในจังหวัดเชียงใหม่และลาพูน จานวน 50 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง

ผลจากการจัดเสวนาร่วมกับวิสาหกิจชุมชนลาไยอบแห้งเนื้อสีทองและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการสังเคราะห์ข้อมูลด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านการรวมกลุ่มคลัสเตอร์ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้จากโครงการวิจัยย่อยซึ่งอยู่ภายใต้ชุดโครงการนี้ นามาสู่การพัฒนาระบบการจัดการการผลิตลาไยอบแห้งเนื้อสีทองด้วยเครือข่ายดิจิทัล การส่งเสริมการตลาดยุคดิจิทัลสาหรับผลิตภัณฑ์ลาไยอบแห้งเนื้อสีทอง การพัฒนาระบบสนุนการตัดสินใจสาหรับการคัดเลือกวิสาหกิจและองค์กรที่เกี่ยวข้องเข้าสู่คลัสเตอร์อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปลาไยอบแห้งเนื้อสีทอง และการบูรณาการระบบการผลิตและการตลาดของวิสาหกิจชุมชนลาไยอบแห้งเนื้อสีทองด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยดาเนินการในรูปของโปรแกรมสาเร็จรูปและการจัดทาเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้เกี่ยวข้องสามารถนาไปใช้งานได้จริง นอกจากนี้องค์ความรู้และผลผลิตจากงานวิจัยนี้ได้ถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายผ่านการจัดทาสื่อมัลติมีเดียซึ่งช่วยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึง องค์ความรู้ที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

คำสำคัญ : ลาไยอบแห้งเนื้อสีทอง , วิสาหกิจชุมชน , อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปอัจฉริยะ , เครือข่ายดิจิทัล , สื่อมัลติมีเดีย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Golden Dried Longan Community Enterprises to Smart Agro-processing Industry
Abstract :

This research aims to 1) develop a system of golden dried longan production management with digital network, 2) analyze digital marketing for golden dried longan products, 3) create a decision support system for selecting enterprises and relevant organizations into agro- processing industrial cluster of golden dried longan, 4) integrate the systems of production and marketing of golden dried longan community enterprises with information technology, and 5) transfer the knowledge and the outputs from the researches to the target group to be able to make practical use. The samples are selected from 50 entrepreneurs and stakeholders involved in golden dried longan industry in Chiang Mai and Lamphun provinces by using the purposive sampling method.

The results from academic talks with golden dried longan community enterprises and stakeholders, as well as, the synthesis from production data, marketing data, industrial cluster data and information technology obtained from sub-research projects under this research program lead to the development of a golden dried longan production management system using digital network, the promotion of digital marketing for golden dried longan products, the development of a decision support system for the selection of enterprises and related organizations into the golden dried longan agro-processing industry cluster, and the integration of production and marketing systems of golden dried longan community enterprises using information technology, which are created in the form of package software and website that can be actually used by entrepreneurs and stakeholders. In addition, the knowledge and the outputs from this research are transferred to the target group through the creation of multimedia, which increases the opportunity to access knowledge quickly and efficiently.

Keyword : Golden dried longan, Community enterprises, Smart agro-processing industry, Digital network, Multimedia
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา พันธุ์มณี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 นายเกษม กุณาศรี
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
300,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 300,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023