การแยกเนื้อในเมล็ดลำไยออกจากเมล็ดเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-024
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การแยกเนื้อในเมล็ดลำไยออกจากเมล็ดเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์
บทคัดย่อ :

หนึ่งในแนวทางการจัดการของเสียจากกระบวนการแปรรูปลา ไยให้เหลือศูนย์ คือการนา

เมล็ดลา ไยมาใช้เป็นวัตถุอาหารสัตว์ทดแทนคาร์โบไฮเดรตที่มีราคาแพงกว่า แต่เปลือกของเมล็ด

ลา ไยเป็นสารต้านการเจริญเติบโตของสัตว์ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงจัดทา ขึ้นเพื่อแยกเปลือกเมล็ดลา ไย

ออก เครื่องแยกเมล็ดลา ไยต้นแบบที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย ชุดลา เลียงเมล็ด ชุดกะเทาะเมล็ด

ระบบส่งกา ลัง มอเตอร์ขนาด 2 แรงม้า และโครงสร้างเครื่อง การทา งานของเครื่องเริ่มจากผู้ทา งาน

ป้อนเมล็ดลา ไยลงในช่องป้อนเมล็ดลา ไยทางด้านบนของเครื่อง หลังจากนั้นเมล็ดลา ไยจะถูก

ลาเลียงเข้าไปกะเทาะเปลือกในชุดกะเทาะเมล็ดโดยเพลาลาเลียงเมล็ด เมล็ดลาไยที่ผ่านกะเทาะ

เปลือกแล้วจะถูกลา เลียงออกมาทางด้านหน้าของเครื่อง

ผลการศึกษาวิธีการเตรียมเมล็ดลาไยก่อนการแยกเปลือกพบว่า หากใช้เมล็ดลาไยที่ผ่าน

กระบวนการแช่แข็งแล้วจะต้องมีการเตรียมเมล็ดลาไยด้วยวิธีการต้มเมล็ดลาไยที่อุณหภูมิ 100 ?C

ที่เวลา 6 min แล้วนา ไปตากแดด 4 วัน แต่หากใช้เมล็ดลา ไยสดจะต้องมีการเตรียมโดยนา ไปตาก

แดดเป็นเวลา 4 วัน หรือการอบด้วยตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 65 ?C เป็นเวลา 24 hr

ผลการศึกษาความเร็วรอบการแยกเปลือกชี้ให้เห็นว่า ความเร็วรอบ 1,000 rpm จะให้อัตรา

การทางานสูงสุดประมาณ 110 kg.hr-1 และประสิทธิภาพการแยกอยู่ในเกณฑ์ที่สูงเกือบ 90% แต่

เมื่อทดสอบระยะยาวจะมีอัตราการทางานสูงสุดประมาณ 94 kg.hr-1 ในขณะที่ประสิทธิภาพการ

แยกเท่าเดิม การศึกษาการเตรียมเมล็ดลา ไยก่อนแยกเชิงพาณิชย์ชี้ให้เห็นว่าการตากแดดกับการอบ

ด้วยเตาอบแบบกระบะมีค่าสมรรถนะการแยกไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่พบว่าการอบด้วยเตาอบ

แบบกระบะใช้เวลาในการอบน้อยกว่าการอบด้วยตู้อบลมร้อนการนา เนื้อในเมล็ดลา ไยแห้งที่ได้แยกเปลือกแล้วไปใช้เป็นอาหารไก่เนื้อ ชี้ให้เห็นว่าน้า หนัก

ตัวไก่เนื้อของกลุ่มที่เลี้ยงด้วยเนื้อในเมล็ดลา ไย 5 เปอร์เซ็นต์สามารถใช้ทดแทนข้าวโพดได้โดยเพิ่ม

ระยะเวลาการเลี้ยงจากโดยทั่วไป 5 สัปดาห์เป็ น 6 สัปดาห์ ไก่จะมีน้า หนักตามความต้องการของ

ตลาดคือ 1.24 kg แม้ว่าจะมีน้า หนักต่า กว่ากลุ่มควบคุม กลุ่มที่ใช้เนื้อในเมล็ดลา ไยมีปริมาณอาหาร

ที่กิน น้า หนักตัวที่เพิ่มขึ้น และอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้า หนักต่า กว่ากลุ่มควบคุมและลดลงตาม

ปริมาณการใช้เนื้อในเมล็ดลา ไยที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้องค์ประกอบซากทุกด้านของกลุ่มที่ใช้เนื้อใน

เมล็ดลา ไยมีค่าต่า กว่ากลุ่มควบคุม ยกเว้นด้านปี กรวม อกใน โครงกระดูก หัวใจ และม้ามไม่มีความ

แตกต่างกันทางสถิติกับกลุ่มควบคุม กระเพาะบดรวมกระเพาะแท้ ลาไส้เล็ก และเครื่องในรวม

ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มที่ใช้เนื้อในเมล็ดลา ไยทุกระดับมีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุม

คำสำคัญ : เมล็ดลำ ไย กำรแยกเชิงกล วัตถุดิบอำหำรสัตว์ ไก่เนื้อ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Separating of Longan Seed Kernel from Seed for Animal Feed Raw Material
Abstract :

One of the waste management from longan processing approached zero waster is to use

longan seed as animal feeds replacing carbohydrate sources which are more expensive.

However, longan seed coat is an anti-animal growth substance which is needed to be removed.

The prototype of a longan seed coat separator developed consisted of seed feeder, separating unit,

power transmission, 2 hp moter and machine structure. The operation of this separator started

from feeding longan seeds into hopper, then longan seed will be conveyed to separation unit, in

which the seed coat will be removed by the rotation of the separation shaft against fixed screen.

The kernel will be separated from the seed coat and then transported out on the front of the

machine.

The results of the effect of the preparation methods of longan seeds before seed coat

separation showed that if using frozen longan seeds, longan seeds must be prepared by boiling

longan seeds at 100 ?C for 6 minutes and followed by drying under the sun dry for 4 days. If

using fresh longan seeds, it must be prepared by drying under the sun dry for 4 days or under hotair

oven at 65 ?C for 24 hours.

Effect of separation speeds at 550, 700, 850, 1,000 and 1,150 rpm on separation

performance showed that the machine performed best was 1,000 rpm, resulted the capacity of

approximately 110 kg.hr-1, percentages of separation efficiency approximately 90%. The long

run of this separator done at 1,000 rpm showed the capacity was 94 kg.hr-1, while the percentages

of separation efficiency was unchangeable.The study of the use of dried longan kernel as a broiler food showed that the final weights

of the broilers of the group that were fed with 5 percent longan seed kernel can be used to replace

corn by increasing the farming period from generally 5 weeks to 6 weeks; since the market

demand weight of broiler is 1.24 kg which was lower than that of the control group. The groups

that consumed the kernel of longan seeds had the feed intake, body weight gain and feed

conversion ratio were lower than the control group and decreased as the amount of kernel of the

longan seeds increased. In addition, the carcass composition in all aspects of the longan kernel

flesh group was lower than the control group. Except for the weights of the wings, breast,

skeleton, heart and spleen, there were no statistical differences with the control group. The

gizzard and proventriculus, intestinal and visceral organs suggested that all levels of longan

kernel flesh were higher than the control group.

Keyword : Longan seed, mechanical separation, animal feed, broiler
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.สุเนตร สืบค้า
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บัวเรียม มณีวรรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผศ.ดร.ระวิน สือค้า
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
428,800.00
   รวมจำนวนเงิน : 428,800.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
30 กรกฎาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ระ
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023