นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพและความงามจากข้าวเหนียวก่ำพื้นเมือง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-022
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพและความงามจากข้าวเหนียวก่ำพื้นเมือง
บทคัดย่อ :

การสร้างนวัตกรรมข้าวด้วยเทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่า ซึ่งทาให้เกิดการพัฒนาและค้นคว้าวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าแก่ข้าวเหนียวก่าพื้นเมืองในเชิงคุณภาพ และเพิ่มมูลค่าด้วยการแปรรูปสารสกัดออกฤทธิ์ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสาคัญในข้าวเพื่อสร้างอาหารเพื่อสุขภาพและเครื่องสาอาง

การศึกษาของโครงการวิจัยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่าเพื่อการปรับปรุงคุณภาพการหุงของข้าวเหนียวก่าพันธุ์พื้นเมือง พบว่า การอาบพลาสมาด้วยออกซิเจน ส่งผลต่อการปรับปรังคุณลักษณะของเนื้อสัมผัสข้าวเหนียวก่าพื้นเมือง โดยเฉพาะสายพันธุ์ข้าวเหนียวก่าลืมผัวซึ่งมีค่าของเนื้อสัมผัสที่มีการปรับปรุงทางด้านความอ่อนนุ่มของเนื้อสัมผัสมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับข้าวเหนียวก่าพะเยา และก่าดอยสะเก็ด นอกจากนั้นเมื่อนาไปวิเคราะห์คุณสมบัติการชอบน้าจากการวัดมุมสัมผัสของน้าบนพื้นผิวของเมล็ดข้าวจะเห็นได้ว่า ข้าวเหนียวก่าพื้นเมืองที่ผ่านการอาบพลาสมาดูดซับน้าได้ดีขึ้น ซึ่งสามารถอธิบายถึงความสัมพันธ์ในระหว่างการหุงสุกที่จะทาให้เกิดการเป็นเจล หรือเมล็ดข้าวสุกได้เร็วขึ้นการประเมินสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่าพื้นเมืองอาบพลาสมาอุณหภูมิต่าเพื่อประยุกต์ใช้เป็นสารกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกและสารสีในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต พบว่า การอาบพลาสมาส่งผลให้สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่ามีปริมาณสูงขึ้น โดยระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุด คือ 20 นาที จากการนาสารสกัดไปทาแห้งแบบพ่นฝอย แล้วนามาทดสอบการเปลี่ยนแปลงของสารออกฤทธิ์สาคัญในระบบจาลองทางเดินอาหาร พบว่า ในสภาวะของการย่อยด้วยกระเพาะอาหารมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยของปริมาณ Cyanidin-3-O-glucoside เมื่อเปรียบเทียบกับสภาวะของลาไส้เล็ก แสดงว่าสาร Cyanidin-3-O-glucoside ของมีมากเพียงพอต่อที่จะเหลือผ่านไปใช้ประโยชน์ในระบบทางเดินอาหารส่วนปลาย จากนั้นเมื่อนาผงสีไปทดสอบความสามารถในการกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต ผลการศึกษาพบว่า การเสริมสารสีสกัดจากข้าวเหนียวก่าในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตต้นแบบส่งผลให้การเจริญของแบคทีเรียได้ดี ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงสรุปได้ว่า สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่าพื้นเมืองอาบพลาสมาอุณหภูมิต่าสามารถประยุกต์ใช้เป็นสารกระตุ้นเชื้อโพรไบโอติกและสารสีในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตได้

ผลของพลาสมาอุณหภูมิต่าต่อสารสกัดออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวเหนียวก่าพื้นเมืองเพื่อเป็นส่วนผสมตารับเซรั่มบารุงผิว พบว่า สารสกัดจากน้าของข้าวเหนียวก่าลืมผัวมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ไทโรซิเนสได้ดีที่สุดแตกต่างจากสารสกัดข้าวเหนียวก่าดอยสะเก็ด และก่าพะเยา อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และสารสกัดน้าข้าวเหนียวก่าลืมผัวยังมีปริมาณ Cyanidin-3-O-glucoside สูงที่สุด จึงได้คัดเลือกสารสกัดน้าจากข้าวเหนียวก่าลืมผัวมาพัฒนาต่อยอดเป็นเครื่องสาอาง จากนั้นนามาเปรียบเทียบวิธีการสกัดสารสาคัญจากข้าวเหนียวก่าลืมผัวด้วยที่ผ่านกระบวนการอาบด้วยพลาสมา เปรียบเทียบกับการสกัดแบบไม่ผ่านกระบวนการอาบ พบว่าสารสกัดจากข้าวที่ผ่านการอาบพลาสมานั้นมีฤทธิ์ทางชีวภาพต่าง ๆ ดีกว่าสารสกัดจากข้าวเหนียวก่าลืมผัวธรรมดา อีกทั้งยังมีปริมาณสารสาคัญสูงกว่าถึง 5 เท่า ดังนั้นเซรั่มจากสารสกัดข้าวเหนียวก่าลืมผัวที่ผ่านการอาบพลาสมาเหมาะที่จะนาไปทาการศึกษาต่อไป เนื่องจากเป็นตารับที่มีประสิทธิภาพและเสถียรภาพที่ดี

คำสำคัญ : ข้าวเหนียวก่า เทคโนโลยีพลาสมา สารออกฤธิ์ทางชีวภาพ อาหารเชิงฟังก์ชัน เครื่องสาอาง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Innovation for development of functional food and cosmetic from black glutinous rice
Abstract :

Rice innovation by cold plasma technology could develop and research to add valve for healthier food and cosmetics products from ingredients black glutinous rice with high quality of antioxidant.

Application of low temperature plasma technology for improving the quality of black glutinous rice cooking found that oxygen-generated plasma improved the quality cooking of Leum Pua, Doi Saket, and Phayao, especially, Leum Pua showed softer texture and more glutinous than Doi Saket, and Phayao. In addition, the analysis of hydrophilic property by measuring the water contact angle on the rice seed surface suggested that plasma-treated rice better absorb water. The results could reveal the gelatinization the causing faster cooking process.

Evaluation of bioactive compound of low temperature plasma treated black glutinous rice for probiotic growth promoter and colorant in yogurt showed that plasma treatment offered superior bioactive properties compared with untreated plasma sample. The optimum condition was 20 min of oxygen-generated plasma. The extracts were dried using spray drier and were then investigated in in vitro digestion process. The results showed that Cyanidin-3-O-glucoside content slightly decreased after gastric digestion process, therefore, this bioactive compound can maintain its property for benefit in intestinal digestion process. The application of bioactive compound of low temperature plasma treated black glutinous rice for probiotic growth promoter was then evaluated and the result demonstrated the probiotic growth enhanced due to adding of colorant powder prepared from glutinous rice extract. This study concluded that the bioactive compound of low temperature plasma treated black glutinous rice can be used as probiotic growth promoter in yogurt.

Effect of low temperature plasma treatment on bioactive compounds of black glutinous rice as active ingredient in cosmetic indicated that black glutinous rice (Leum Pua) extracted usingdistilled water exhibited the higher anti-tyrosinase activity when compared with the Doi Saket and Kam Phayao (p<0.05). The Leum Pua extracted was highest in Cyanidin-3-O-glucoside. Leum Pua extracted was selected to develop anti-skin-aging serum. Moreover, the bioactive compound of the plasma-treated black rice extracted was 5 times greater than that of the untread extracts. Therefore, the serum of indigenous glutinous rice extract treated with plasma could be continuous for further study due to efficiency and stability

Keyword : Black glutinous rice, Plasma technology, Bioactive compound, Functional food, Cosmetic
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา วัฒนนภาเกษม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
40 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร ปานง่อม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.วาศิณี ปานจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
5 นางสาวกนกวรรณ เกียรติสิน
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
6 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่พันตรี ดร.ประเทือง โชคประเสริฐ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
7 อาจารย์ ดร.จิรพงศ์ ศรศักดานุภาพ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
126,920.00
   รวมจำนวนเงิน : 126,920.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023