ผลของปุ๋ยและประสิทธิภาพของชันโรงในการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-020.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของปุ๋ยและประสิทธิภาพของชันโรงในการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณของปุ๋ยที่เเหมาะสมต่อการให้ผลผลิตของปาล์ม และศึกษาประสิทธิภาพของชันโรงขนเงิน (Tetragonula pagdeni) ในการผสมเกสรปาล์มน้ามัน ปลูกทดสอบในอาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2562 วิเคราะห์ข้อมูลตามแผนการทดลองแบบแฟกทอเรียล 2 ปัจจัย จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนลักษณะเปอร์เซ็นต์ผลดี พบว่า อัตราการใส่ปุ๋ย 1 เท่า 1.5 เท่า 2 เท่า และ 2.5 เท่าไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ จานวนรังชันโรง จานวน 0 รัง 4 รัง 8 รัง และ 12 รัง มีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยปาล์มน้ามันที่วางรังชันโรงจานวน 12 รังต่อไร่ให้เปอร์เซ็นต์ผลดีสูงที่สุดเท่ากับ 80.32 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่แตกต่างกับปาล์มน้ามันที่วางรังชันโรงจานวน 8 รังต่อไร่ซึ่งให้เปอร์เซ็นต์ผลดีเท่ากับ 78.37 เปอร์เซ็นต์ แต่แตกต่างกับปาล์มน้ามันที่วางรังชันโรงจานวน 4 รังต่อไร่และไม่วางรังชันโรง โดยให้เปอร์เซ็นต์ผลดีเฉลี่ยเท่ากับ 77.50 และ 76.15 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างอัตราการใส่ปุ๋ยกับจานวนรังชันโรง มีนัยสาคัญทางสถิติ โดยปาล์มน้ามันที่ใส่ปุ๋ย 2.5 เท่าและวางรังชันโรง 12 รังต่อไร่ ให้เปอร์เซ็นต์ผลดีสูงที่สุดเท่ากับ 80.91 เปอร์เซ็นต์

คำสำคัญ : ปาล์มน้ามัน ปุ๋ย ชันโรง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Effect of fertilizer and efficacy of Stinglessbee for Increase Productivity of Oil Palm
Abstract :

The objective of research is to study of fertilizer suitable for the production of oil palm study the efficacy of Tetragonula pagdeni of oil palm pollination in Langsuan district, Chumphon province. The experiment was designed as factorial in completely randomized design. Yield and yield components were collected during October 2018 - September 2019. Analysis of variance show fruit/bunch it was found that fertilizer application rates of 1 time, 1.5 times, 2 times and 2.5 times were not statistically significant. The number of beehive , 0, 4, 8 and 12, with a significant statistical significance The 12 beehive per rai gave the highest percentage of good fruit, 80.32 percent but not different from 8 beehive per rai, which gives a fruit/bunch of 78.37 percent but different from 4 beehive per rai and does not have beehive. With the average percentage of fruit/bunch being 77.50 and 76.15 percent respectively. Reaction between fertilizer application rates and number of beehive statistically significant The oil palm with fertilizer 2.5 times and 12 beehive per rai gave the highest percentage of fruit/bunch at 80.91 percent.

Keyword : oil palm fertilizer Tetragonula pagdeni
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-020.1 : การวิเคราะห์เสถียรภาพของพันธุ์ปาล์มน้ามันโดยวิธีรีเกรสชัน
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ปิยนุช จันทรัมพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 นายรังสิวุฒิ สิงห์คำ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
350,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 350,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023