การเพิ่มศักยภาพการผลิตปาล์มน้ำมันในจังหวัดชุมพร

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-020
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเพิ่มศักยภาพการผลิตปาล์มน้ำมันในจังหวัดชุมพร
บทคัดย่อ :

ปาล์มน้ามัน (Elaeis guineensis Jacq.) ให้น้ามันต่อหน่วยพื้นที่มากกว่าพืชน้ามันชนิดอื่นๆ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางพันธุกรรม สภาพแวดล้อม และปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อม รวมทั้งประเมินความเสถียรของโคลนปาล์มน้ามันใน 2 สถานที่ ทางภาคใต้ของไทย ปาล์มน้ามันอายุ 10 ปี จานวน 7 พันธุ์ คือ Azteca Eagle Emerald Nemo Titan Tornado และ Deli x Lame และปลูกทดสอบในอาเภอละแม และ อาเภอสวี จังหวัดชุมพร แต่ละสถานที่วางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แต่ละพันธุ์เก็บข้อมูลจานวน 15 ต้น ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2562 ข้อมูลจาก 2 สถานที่นามาวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมเพื่อประเมินความสาคัญของปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อม และประเมินเสถียรภาพของพันธุ์โดยวิธีรีเกรสชัน ผลการศึกษา พบว่า ผลผลิตน้ามันของพันธุ์ปาล์มน้ามันมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันมีอิทธิพลทาให้ลักษณะผลผลิตน้ามันของพันธุ์ปาล์มน้ามันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง เมื่อพิจารณาในแต่ละสถานที่ พบว่า โคลนปาล์มน้ามันพันธุ์ Titan เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตน้ามันเฉลี่ยสูงสุดในทุกสภาพแวดล้อมที่ทาการทดลอง โดยให้ค่าสัมประสิทธิ์รีเกรสชันเท่ากับ 1.42 จึงสามารถแนะนาเป็นพันธุ์ปลูกได้ในอาเภอละแมและอาเภอสวี ได้ โคลนปาล์มน้ามันพันธุ์ Emerald Nemo Azteca Tornado และ Eagle เป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพโดยเฉลี่ย โดยให้ค่าสัมประสิทธิ์รีเกรสชันเท่ากับ 1.25, 0.93, 0.92, 0.95 และ 0.82 ตามลาดับ

คำสำคัญ : โคลนปาล์มน้ามัน เสถียรภาพของพันธุ์ สัมประสิทธิ์รีเกรสชัน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Genotypic Stability of Oil Palm by Regression Methods
Abstract :

Oil palm (Elaeis guineensis Jacq.) can produce a greater oil yield than other oil plants. This research was conducted to evaluate clones, environment and interaction between genotypes with environment that affected phenotypic traits and estimated stability of oil palm clones. Seven varieties include Azteca Eagle Emerald Nemo Titan Tornado and Deli x Lame, aged 10 years old. These varieties were planted at 2 locations in Southern Thailand including Lamae and Sawee district, Chumphon province. The experiment at each location was designed as completely randomized design with 15 replications. Yield and yield components were collected during October 2018 - September 2019. All data were analyzed using combined analysis to test the significance of G x E interaction. Furthermore, the stability were evaluated by regression methods. The results reported that the oil yield of clones were significantly difference at p<0.01, location factors were also showed high significantly difference. In each location, Titan clone could provide oil yield more than other clones at Lamae and Sawee district, with regression coefficient was 1.42 it can be recommended as a clone in Lamae and Sawee district. Emerald Nemo Azteca Tornado and Eagle clones well adapted to all the environments with correlation coefficient was 1.25, 0.93, 0.92, 0.95 and 0.82, respectively.

Keyword : oil palm clone, stability, regression coefficient
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
45 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ปิยนุช จันทรัมพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 อาจารย์วิชชุดา เอื้ออารี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
4 นายรังสิวุฒิ สิงห์คำ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / สำนักงานคณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
30,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 30,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023