การยกระดับศักยภาพผู้พิการสู่การพัฒนาเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นนำเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์อย่างสร้างสรรค์ในจังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-019.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การยกระดับศักยภาพผู้พิการสู่การพัฒนาเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นนำเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์อย่างสร้างสรรค์ในจังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

การสร้างต้นแบบศักยภาพของผู้พิการสู่การเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นนำเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยคัดเลือกผู้พิการในพื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ 1) กลุ่มผู้พิการชุมชนเมืองคอง ตำบลเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จำนวน 8 ราย 2) กลุ่มผู้พิการชุมชนบ้านภูดิน ตำบลแม่หอพระ อำเภอแม่แตง จำนวน 12 ราย 3) กลุ่มผู้พิการชุมชนเจดีย์แม่ครัว ตำบลเจดีย์แม่ครัว อำเภอสันทราย จำนวน 13ราย

4) กลุ่มผู้พิการชุมชนบ้านตับเต่า ตำบลศรีดงเย็น อำเภอไชยปราการ จำนวน 7 ราย และ 5) กลุ่มผู้พิการชุมชนสันติสุข ตำบลดอยหล่อ อำเภอดอยหล่อ จำนวน 10 ราย รวมทั้งสิ้น 50 ราย ทดลองนำร่อง (pilot project)โดยดำเนินการจัดฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ หาหลักสูตรมัคคุเทศก์ท้องถิ่นนำเที่ยว ได้แก่ ลักการมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ศิลปะการพูดสำหรับมัคคุเทศก์ และการจัดโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้พิการของแต่ละชุมชน

ผลประเมินศักยภาพของผู้พิการสู่การเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นนำเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการเชิญบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่มีประสบการณ์หรือเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์เข้าร่วมกิจกรรม ให้แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ พบว่า ด้านทัศนคติ มีคะแนนอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านประสบการณ์ ด้านบุคลิกภาพอยู่ในระดับมาก ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านจิตบริการ ด้านทักษะ และด้านความรู้

คำสำคัญ : การพัฒนา , ศักยภาพ , มัคคุเทศก์ท้องถิ่นนำเที่ยว
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Uplifting the Potential of People with Disabilities to become a Local Tour Guide in Creative Organic Agriculture in Chiang Mai Province
Abstract :

The creation of Prototyping Potential of People with Disabilities to become a Local Tour Guide in Creative Organic Agriculture in Chiang Mai Province by selecting people with disabilities in the target areas, such as disabled people, Kong Town Community, Chiang Dao 8 people, Ban Phu Din Disabled Mae Taeng District 12 people, Chedi Mae Krua Community 13 people, Ban Tam Tao Disabled Sri Dong Yen District 7 people and San Ti Suk Disabled Doi Lor District 10 people consisting of 50 people in the pilot project. The research engages on organizing and transferring knowledge, search for local tour guide curriculums, such as principles of local guides, the art of speaking for guides, and organizing organic tourism programs to develop the capabilities of the disabled groups of each community

The Results for assessing the Potential of People with Disabilities to become a Local Tour Guide in Creative Organic Agriculture in Chiang Mai Province by inviting an outside person or agency with experience or related to organic tourism to give comments and suggestion shows that attitude was very good, followed by experience, and in terms of personality, interpersonal and service mind including knowledge was all good.

Keyword : Development, Potential, Low-Pressure, Local Tour Guide
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย ยมเกิด
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยนานาชาติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
545,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 545,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023