รูปแบบการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพแก่ผู้พิการในจังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-019
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : รูปแบบการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพแก่ผู้พิการในจังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

การวิจัยโครงการเรื่อง รูปแบบการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพแก่ผู้พิการในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาระบบแปลงเกษตรอินทรีย์ที่เหมาะสมต่อการทำเกษตรของผู้พิการในจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อส่งเสริมการจัดทำฟาร์มต้นแบบที่ทันสมัย สร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรอย่างเป็นระบบ

ผลการวิจัย การพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพแก่ผู้พิการในจังหวัดเชียงใหม่ มีการจัดฝึกอบรมพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม 3 สาขา คือ การปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน และการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด โดยแบ่งขั้นตอนการพัฒนาเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะก่อนการฝึกอบรม ดำเนินการสำรวจข้อมูลผู้พิการเพื่อศึกษา ข้อมูลผู้พิการ คุณภาพชีวิตของผู้พิการ และปัจจัยการเห็นคุณค่าในตนเอง 2) ระยะการฝึกอบรม ซึ่งมีขั้นตอนคือ การจัดทำหลักสูตร การจัดฝึกอบรม การประเมินผล และการตรวจติดตาม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมฯ 3) ระยะหลังการฝึกอบรม เป็นศึกษาปัญหา อุปสรรคและแนวทางการยกระดับคุณภาพชีวิตและเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมของผู้พิการฯ หลังจากเข้ารับการฝึกอบรม โดยรูปแบบการพัฒนาเกษตรอินทรีย์เชิงนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพแก่ผู้พิการในจังหวัดเชียงใหม่ที่สำคัญคือ ได้แก่ สร้างองค์ความรู้ เสริมพลังอำนาจ สิ่งอำนวยความสะดวก และ การสร้างเครือข่าย

คำสำคัญ : การพัฒนา , เสริมสร้างศักยภาพ , ผู้พิการ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development Model of Organic Agriculture Innovation to Empower People with Disabilities in Chiang Mai Province
Abstract :

The objective of this research on the Development Model of Organic Agriculture Innovation to Empower People with Disabilities in Thailand is to develop a model for organic agricultural plots suitable for agriculture for people with disabilities in Chiang Mai Province and also to promote modern prototype farming, and systematically strengthen farmers.

The results of this research include the development of career training on agriculture in 3 fields such as hydroponic vegetable cultivation, Cultivation of Phu Tan Mushroom, and Rearing of Crickets. The development process was divided into 3 phases: 1) pre-training phase; Survey people with disabilities to study information on their Quality of life and self-esteem factor. 2) Training phase; This involves Course preparation, Organizing training, and evaluation of trainees 3) Post-training Phase; This was when we study the problem and guidelines for uplifting the quality of life and empowerment of farmers with disabilities. After being trained by the development model of organic agriculture innovation to empower people with disabilities in Chiang Mai, the trainees were able to attain knowledge, Empowered, provision of basic amenities, and were able to create a network.

Keyword : Development, Empower, Disabilities
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย ยมเกิด
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยนานาชาติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
70 ไม่ระบุ
2 อาจารย์อรุณโรจน์ พวงสุวรรณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 อาจารย์นนท์ ปิ่นเงิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
306,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 306,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023