การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยผงสำเร็จรูป

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-018
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยผงสำเร็จรูป
บทคัดย่อ :

การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยผงสาเร็จรูปใน ได้ดาเนินการระหว่างเดือน มิถุนายน ถึงเดือนพฤศจิกายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อพัฒนากรรมวิธีที่เหมาะสมในการผลิตวัตถุดิบ และพัฒนากรรมวิธีที่เหมาะสมในการผลิตเฉาก๊วยผงสาเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า กรรมวิธีการให้ปุ๋ยเคมี (15-15-15) และปุ๋ยมูลไก่ให้ผลดีที่สุดในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และเพิ่มปริมาณผลผลิต (น้าหนักแห้ง) ในขณะที่การให้ปุ๋ยมูลค้างคาว และปุ๋ยมูลไก่ร่วมกับปุ๋ยมูลค้างคาว ช่วยเพิ่มปริมาณสารแทนนิน มากกว่าการให้ปุ๋ยเคมี (15-15-15) การให้ปุ๋ยมูลวัว การให้ปุ๋ยมูลไก่ และการไม่ให้ปุ๋ย การไม่พรางแสงให้ผลดีที่สุดในการเพิ่มจานวนยอด ปริมาณน้าหนักสด น้าหนักแห้ง ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก และสารประกอบยูโซลิก แต่ไม่มีผลต่อปริมาณกัมและแทนนิน การเก็บเกี่ยวต้นเฉาก๊วยที่อายุ 90 วัน ให้ค่าเฉลี่ยความสูงต้น และปริมาณกัมสูงที่สุด

คำสำคัญ : เฉาก๊วย ปุ๋ยอินทรีย์ การพรางแสง ช่วงอายุการเก็บเกี่ยว
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Grass Jelly Raw Material Production and Instant Grass Jelly Product
Abstract :

The development of grass jelly raw material production and instant grass jelly product was conducted during June to November, 2019 at Maejo University, Chiang Mai. The aim of this study was to develop the appropriate method of raw grass jelly production and the appropriate process of instant grass jelly product. The results showed that the application of chemical fertilizer (15-15-15) and chicken manure gave the best result on growth, yield (dry weight) of grass jelly. In contrast, the application of bat manure and chicken plus bat manure was able to increase the tannin content higher than the application of chemical fertilizer, cow manure, chicken manure and non-fertilizer treatment. Un-shading treatment gave the best result on the highest values of shoot number, fresh and dry weight, phenolic and ursolic contents while the gum and tannin contents were unaffected by this treatment. The harvesting time at 90 days of tree age gave the highest values of plant height and gum content of grass jelly.

Keyword : Grass Jelly, Organic Fertilizer, Shading, Harvesting period.
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.วาริน สุทนต์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
3 ดร.นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร / สำนักงานคณบดีคณะผลิตกรรมการเกษตร / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
342,520.00
   รวมจำนวนเงิน : 342,520.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023