รูปแบบการเลี้ยงสัตว์น้ำท้องถิ่นหลายชนิดร่วมกันในบ่อเลี้ยงปลานิลเชิงพาณิชย์ แบบยั่งยืน ในระบบน้ำหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ เพื่อรองรับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนสัตว์น้ำอินทรีย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-012.6
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : รูปแบบการเลี้ยงสัตว์น้ำท้องถิ่นหลายชนิดร่วมกันในบ่อเลี้ยงปลานิลเชิงพาณิชย์ แบบยั่งยืน ในระบบน้ำหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ เพื่อรองรับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนสัตว์น้ำอินทรีย์
บทคัดย่อ :

ศึกษาการเลี้ยงปลานิลร่วมกับปลาช่อนและปลาสลิดในระบบน้าหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ในบ่อซีเมนต์ขนาด 1.2X 1 X 1.5 เมตร รวมระยะเวลา 3 เดือน แบ่งการทดลองเป็น 8 ชุด ชุดการทดลองละ 3 ซ้าโดยทุกชุดการทดลอง เลี้ยงปลานิล ที่อัตราความหนาแน่น 50 ตัว/บ่อ โดยใช้ปั๊มน้าให้หมุนเวียนผ่านระบบอะควาโปนิคส์และเติมอากาศตลอดเวลา โดยชุดการทดลองที่ 1, 2, 3 และ4 เลี้ยงปลานิลร่วมกับปลาช่อน โดยปล่อยปลาช่อน ขนาด 5 นิ้ว 20 ตัวต่อตารางเมตร ปลาสลิด ความหนาแน่น 10 ตัวต่อตารางเมตร ส่วนชุดการทดลองที่ 5, 6, 7 และ8 เลี้ยงปลานิลร่วมกับปลาช่อน โดยปล่อยปลาช่อน ขนาด 7 นิ้ว 20 ตัวต่อตารางเมตร ปลาสลิด ความหนาแน่น 20 ตัวต่อตารางเมตร เมื่อสิ้นสุดการทดลอง พบว่า ปลานิลมีค่าเฉลี่ยอัตราการเจริญเติบโต ชุดการทดลองที่ 1, 2 , 3, 4, 5, 6,7 และ 8 ให้น้าหนักเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเท่ากับ 1.15?0.77, 1.12?0.29, 1.14?0.33, 1.07?0.39, 1.21?0.29, 1.16?0.22, 1.08?0.28 และ 1.09?0.43 กรัมต่อวัน ตามลาดับ ปลาช่อนมีค่าเฉลี่ยอัตราการเจริญเติบโต ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.91?0.77, 1.97?0.29, 1.90?0.33, 1.88?0.39, 2.10+0.75, 2.17+0.60, 2.08+0.85 และ 2.01+0.76กรัม/วัน ตามลาดับ ปลาสลิดน้าหนักมีค่าเฉลี่ยอัตราการเจริญเติบโต 0.89?0.77, 0.83?0.29, 0.79?0.33, 0.77?0.39, 0.85?0.75, 0.84?0.19, 0.79?0.38และ 0.78?0.32 กรัมต่อวัน ตามลาดับชุดการทดลองที่ 6 มีอัตราการรอดตายและผลผลิตของปลาช่อนสูงที่สุด คุณภาพน้าตลอดการทดลองได้แก่ อุณหภูมิของน้า ค่าความเป็นกรด- ด่าง แอมโมเนีย ไนไตรท์ไนเตรทและฟอสฟอรัส ของแต่ละชุดการทดลอง ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(p>0.05)และเหมาะสมสาหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า จากผลการทดลองพบว่าอัตราส่วนที่เหมาะสมกับการเลี้ยงปลานิลร่วมกับปลาช่อนขนาด 7 นิ้วความหนาแน่น 20 ตัวต่อตารางเมตร และปลาสลิด 10 ตัวต่อตารางเมตร มีอัตราการรอดตายและผลผลิตของปลาช่อนสูงที่สุด เป็นแนวทางส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงปลานิลร่วมกับปลาช่อนและผลิตพืชผักให้กับเกษตรกรในระบบน้าหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ต่อไป

คำสำคัญ : : ปลานิล , ปลาช่อน , ปลาสลิด , อะควาโปนิคส์ , เลี้ยงปลาหลายชนิดร่วมกัน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Strategy of local aquatic animal co-culture tilapia sustainable model under aquaponics system for organic communities enterprise developing supports
Abstract :

Nile tilapia, Oreochromis niloticus, Striped snakehead fish (Channa striata) and Sepat siam (Trichogaster pectoralis) were cultured in recirculating aquaponic system in the 1 X 1.2 X 1.5 m. cement ponds, a total period of 3 months. Eight treatments with 3 replications each were carried out in factorial CRD experimental design. the Nile tilapia fish were raised at density 50 fish/tank with Striped snakehead fish , Sepat siam and any vegetables treatment1, 2, 3 and 4 Striped snakehead fish were raised at different sizes including 5 and 7 inches with Sepat siam 10 individuals/pond. the Nile tilapia fish were raised at density 50 fish/tank with Striped snakehead fish, Sepat siam and any vegetables treatment 5, 6, 7 and 8 Striped snakehead fish were raised at different sizes including 5 and 7 inches with Sepat siam 20 individuals/pond.By the end of experiment, the growth performance of fish in treatments 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 were shown. The average daily weight gains of tilapia were 1.15?0.77, 1.12?0.29, 1.14?0.33, 1.07?0.39, 1.21?0.29, 1.16?0.22, 1.08?0.28 and 1.09?0.43 g/day, respectively. The average daily weight gains of Striped snakehead fish were 1.91?0.77, 1.97?0.29, 1.90?0.33, 1.88?0.39, 2.10+0.75, 2.17+0.60, 2.08+0.85 and 2.01+0.76 g/day, respectively. The average daily weight gains of Sepat siam were 0.89?0.77, 0.83?0.29, 0.79?0.33, 0.77?0.39, 0.85?0.75, 0.84?0.19, 0.79?0.38 and 0.78?0.32 g/day, respectively. It was not significantly different (P>0.05) in the temperature, pH, ammonia, nitrite ,nitrate and phosphorus among treatments.The results showed that appropriate density of recirculating system Nile tilapia (50 fish/tank) and 7 inch striped snakehead fish for aquaponics culture were 20 fish/tank, Sepat siam were 10 fish/tank. which trended to provide the highest mean total weight with highest survival rate.The findings about suitable fish stocking density for recirculating aquaponic system will be promoted to farmers, entrepreneurs or anyone who are interested in commercially raising fish in recirculating system to meet quality standards.

Keyword : Nile Tilapia, Snake Head Fish, Sepat siam, Aquaponic System, Co-culture
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-012 : การผลิตสัตว์น้าเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประจวบ ฉายบุ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
75 ไม่ระบุ
2 น.ส.น้ำเพชร ประกอบศิลป์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อานุภาพ วรรณคนาพล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
4 นายสุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
663,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 663,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023