การเพิ่มระดับโปรตีนของกากมะพร้าวสดโดยกระบวนการหมักลูกแป้งข้าวหมาก ต่อสมรรถนะการผลิตกุ้งก้ามกรามเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-012.5
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การเพิ่มระดับโปรตีนของกากมะพร้าวสดโดยกระบวนการหมักลูกแป้งข้าวหมาก ต่อสมรรถนะการผลิตกุ้งก้ามกรามเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน
บทคัดย่อ :

การเพิ่มระดับโปรตีนของกากมะพร้าวสดโดยกระบวนการหมักลูกแป้งข้าวหมากต่อสมรรถนะการผลิตกุ้งก้ามกราม เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย การเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และผลผลิตรวมของกุ้งก้ามกราม มีการจัดแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มทดลอง คือ อาหารผสมกากมะพร้าวสดหมัก 0 % (กลุ่มควบคุม), 10 %, 20 % และ 30 % เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า น้าหนักเฉลี่ย น้าหนักเพิ่มเฉลี่ยสะสม มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05) น้าหนักเพิ่มเฉลี่ย เปอร์เซ็นต์ความยาวเพิ่มเฉลี่ยมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05) ความยาวเพิ่มเฉลี่ยต่อวัน การเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (p>0.05) อย่างไรก็ตามอัตราการรอดตาย และผลผลิตรวมกุ้งก้ามกราม มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05)

คำสำคัญ : กุ้งก้ามกราม , กากมะพร้าวสด , ลูกแป้งข้าวหมาก , การเจริญเติบโต
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Increasing Protein Level of Fresh Coconut Meal by Loog-Pang Kao- Mak Fermentation Process on Productive Performance of Giant Freshwater Prawn (Macrobrachium rosenbregii) for Economic Development of Community
Abstract :

The experimental were studied utilizatio fresh coconut meal ferment to mixed in the feed for giant freshwater prawn (Macrobrachium rosenbergii) culture that we were purpose growth rate, survival rate, feed conversion ratio (FCR) and biomass of giant freshwater prawn (M. roesnbregii). We were desiged the experiment used difference percentage of fresh coconut meal ferment (0, 10, 20 and 30 %).

The results were showed of average weight and weight gain were showed different significant higher (p<0.05) but average diary growth, percent weight gain were showed not significantly (p>0.05). The average length, length gain and percent length gain were showed different significant higher (p<0.05) but average diary length was showed not significantly (p>0.05). The feed conversion ratio (FCR) was showed not significantly (p>0.05). Neither, the survival rate and biomass of giant freshwater prawn were showed different significantly (p<0.05).

Keyword : giant freshwater prawn, fresh coconut meal, loog-pang kao- mak, growth rate
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-012 : การผลิตสัตว์น้าเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี วิระสิทธิ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
80 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อานุภาพ วรรณคนาพล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
544,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 544,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023