การปรับปรุงพันธุ์ปลาหนังลูกผสม 3 สายพันธุ์เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงพาณิชย์และวิสาหกิจชุมชน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-012.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การปรับปรุงพันธุ์ปลาหนังลูกผสม 3 สายพันธุ์เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงพาณิชย์และวิสาหกิจชุมชน
บทคัดย่อ :

การศึกษาการเจริญเติบโตของปลาหนังลูกผสม 3 สายพันธุ์เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงพาณิชย์

และวิสาหกิจชุมชน โดยทำการผสมพันธุ์ปลาเทโพ ปลาลูกผสมบึกสยามและปลาเทพา ดังนี้คือ แม่

เทโพ ? พ่อเทโพ, แม่บึกสยาม ? พ่อบึกสยาม, แม่บึกสยาม ? พ่อเทโพ, แม่เทโพ ? พ่อบึกสยาม และ

แม่บึกสยาม ? พ่อเทพา พบว่าการเจริญเติบโตของปลาหนังลูกผสมในแต่ละสายพันธุ์มีความแตกต่าง

กันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p < 0.01) โดยที่อายุ 8 เดือน คู่ผสมสายพันธุ์แม่เทโพ ? พ่อบึกสยาม มี

น้ำหนักและความยาวสูงสุดมีค่าเท่ากับ 28.74?11.16 กรัมและ 15.34?15.85 เซนติเมตร รองลงมาเป็น

คู่ผสมสายพันธุ์แม่บึกสยาม ? พ่อเทโพ มีน้ำหนักและความยาวเท่ากับ 25.18?13.62 กรัม และ

13.48?25.68 เซนติเมตร คู่ผสมสายพันธุ์แม่บึกสยาม ? พ่อเทพา มีน้ำหนักและความยาวเท่ากับ

22.04?6.74 กรัม และ 13.06?12.47 เซนติเมตร คู่ผสมสายพันธุ์แม่บึกสยาม ? พ่อบึกสยาม มีน้ำหนัก

และความยาวเท่ากับ19.00?16.52 กรัม และ 13.50?25.43 เซนติเมตร และคู่ผสมสายพันธุ์แม่เทโพ ? พ่อ

เทโพ มีน้ำหนักและความยาวน้อยที่สุดมีค่าเท่ากับ 12.12?5.08 กรัม และ 11.01?12.46 เซนติเมตร จาก

การศึกษายังพบว่าค่าเฮตเทอโรซีสของคู่ผสม แม่เทโพ ? พ่อบึกสยาม มีค่าสูงสุด โดยมีค่าอยู่ที่ 84.70 %

รองลงมาคือ แม่บึกสยาม ? พ่อเทโพ โดยมีค่าอยู่ที่ 61.83 % ตามลำดับ

การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมของปลาหนังและปลาหนังลูกผสมที่อายุ 8 เดือน ทั้งลักษณะ

น้ำหนักและความยาวตัวมีค่าสูง โดยมีค่าเท่ากับ 0.58?0.92 และ 0.48?0.75 ตามลำดับ และมีสหสัมพันธ์

ระหว่างลักษณะน้ำหนักตัวและความยาวสูง โดยค่าสหสัมพันธ์ของลักษณะปรากฏ และสหสัมพันธ์ทาง

พันธุกรรม ระหว่างน้ำหนักตัวกับความยาวตัวมีค่าสูง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.91 และ 0.89 ตามลำดับ แสดงให้

เห็นว่าสามารถปรับปรุงพันธุ์ปลาหนังลูกผสมโดยวิธีการคัดเลือกให้มีน้ำหนักตัวและความยาวที่เพิ่มขึ้นได้จากการวิจัยในครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงศักยภาพในการผลิตปลาหนังลูกผสม 3 สายพันธุ์ระหว่างแม่

เทโพxพ่อบึกสยาม ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตปลาหนังลูกผสมในระบบการผลิตสัตว์น้ำเพื่อเพิ่มมูลค่า

และอาหารสุขภาพให้กับวิสาหกิจชุมชนต่อไป

คำสำคัญ : ปลาหนังลูกผสม , การเจริญเติบโต , เฮตเทอโรซีส , การปรับปรุงพันธุ์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Genetic Improvement of 3 Crosses-Hybrid Catfish for commercial aquaculture and community enterprise
Abstract :

A study on the growth of 3 hybrid catfish species for commercial aquaculture and community

enterprise, comprising of Pangosius larnaudii, BukSiam hybrid catfish (male Pangasianodon gigas x

female P. hypophthalmus) and Pangasius sanitwongsei. Mating as follows: female P. larnaudii ? male

P. larnaudii, female BukSiam hybrids catfish ?male BukSiam hybrids catfish, female BukSiam hybrids

catfish ? male P. larnaudii, female P. larnaudii ? male BukSiam hybrid catfish and female BukSiam

hybrids catfish ?male P. sanitwongsei. It was found that, at 8 months old, the final body weight and

total length of different strains were highly significantly differences (p<0.01). Body weight and total

length of hybrid (female P. larnaudii ? male BukSiam hybrid catfish) were highest: 28.74?11.16 g.

and 15.34?15.85 cm.; body weight and total length of hybrid (female BukSiam hybrids catfish ? Male

P. larnaudii) were 25.18?13.62 g. and 13.48?25.68 cm.; body weight and total length of hybrid

(female BukSiam hybrids catfish ? male P. sanitwongsei) were 22.04?6.74 g. and 13.06?12.47cm.;

body weight and total length of hybrid ( female BukSiam hybrids catfish ? male BukSiam hybrid

catfish) were 19.00?16.52 g. and 13.50?25.43 cm.; body weight and total length of female P.

sanitwongsei ? male P. sanitwongsei were lowest: 12.12?5.08 g. and 11.01?12.46 cm. respectively.

The heterosis of hybrid (female P. larnaudii ? male BukSiam hybrid catfish) were highest at 84.70 %

; next is hybrid (female BukSiam hybrid catfish ? Male P. larnaudii) was 61.83 % respectively.

Estimation of heritability in catfish and hybrid catfish species at 8 months old were high for

body weight and total length (h2

BW: 0.58?0.92 and h2

TL: 0.48?0.75). The phenotypic and genotypic

correlation between BW and TL were high as well (rp: 0.91 and rg 0.89. The heritabilities and

correlations showed desirable prospective for selective breeding of body weight and total length.

These results imply that the potential of the production of 3 hybrid fish species between female

P. larnaudii ? male BukSiam hybrid catfish for increasing of hybrid catfish production in the

aquaculture system in order to value added and healthy food to community enterprises

Keyword : hybrid catfish, growth, heterosis, genetic improvement
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-012 : การผลิตสัตว์น้าเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นายโกศล ขำแสง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิสรา กิจเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
398,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 398,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023