แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนด้านการเพาะเลี้ยงปลานิลอินทรีย์ กรณีศึกษาเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล บ้านแม่แก๊ด ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-012.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนด้านการเพาะเลี้ยงปลานิลอินทรีย์ กรณีศึกษาเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล บ้านแม่แก๊ด ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรตาม

แนวคลองชลประทานและเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล ความรู้ความเข้าใจและทัศนคติต่อการทำเกษตร

อินทรีย์และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติเพื่อเป็นแนวทางในการ

ส่งเสริมการทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ โดยกลุ่มตัวอย่างคือเกษตรกรตามแนวคลองชลประทาน

จำ นวน 2 กลุ่มคือกลุ่มปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์และกลุ่มผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยใช้เครื่องมือ

แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในระดับสูง

และมีทัศนคติที่ดีต่อการทำการเกษตรในระบบอินทรีย์และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ นอกจากนี้

ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติคือเกษตรกรที่อาศัยในอำเภอแตกต่างกัน ประสบการณ์ในการประกอบอาชีพ

การใช้และไม่ใช้สารเคมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์และการฝึกอบรมที่

แตกต่างกันมีผลต่อทัศนคติแตกต่างกัน ดังนั้นปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่จะนำไปแก้ปัญหาต่อไป

นอกจากนี้ผลการศึกษาการปนเปื้อนของคุณภาพน้ำที่เป็นความเสี่ยงต่อการทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

ในระบบอินทรีย์พบว่ามีการปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรในดินในระดับที่ต่ำมาก และน้ำที่นำมาใช้

สำหรับเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมีคุณภาพทางกายภาพ เคมีภาพและชีวภาพที่เหมาะสมในการนำมาใช้

สำหรับเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จากข้อมูลทั้งหมดนี้ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เป็นอุปสรรคในการส่งเสริมการ

เพาะเลี้ยงปลานิลในระบบอินทรีย์

คำสำคัญ : วิสาหกิจชุมชน ปลานิลอินทรีย์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Communities Enterprise Toward Organic Tilapia (Oreochromis niloticus) Aquaculture Practices : Case Study Tilapia Farmers at Maekat, Parpai, Sansai, Chiang Mai, Thailand
Abstract :

The objectives of this research are to study socio economy, knowledge

perception and attitude of farmers along Mae Ngad Somboonchon irrigation canals and

tilapia farmers towards organic farming and organic aquaculture practice. As well as

factors affecting attitudes as a guideline for promoting organic aquaculture. The two

sample groups were farmers along the irrigation canals and farmer who raise tilapia.

The questionnaire was used as tool to gather data. The results showed that farmers

have a high level of knowledge and positive attitudes towards organic farming and

organic aquaculture. In addition, factors affecting attitudes were different farmers who

lived in different districts, career experiences, chemicals using, knowledge of organic

aquaculture and training. Therefore, these factors are what will lead to further

solutions. In addition, the study of water quality contamination at risk of organic

aquaculture was found to have very low levels of soil contamination of agricultural

chemicals. And the water body used for aquaculture has optimal in physical, chemistry

and biological used in aquaculture. With all of this information, the environment is not

an obstacle for promoting organic tilapia culture in Mae gad, Parpai, Sansai, Chiang Mai.

Keyword : Enterprise, tilapia organic
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-012 : การผลิตสัตว์น้าเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์ เทียมเมือง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
55 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อานุภาพ วรรณคนาพล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
45 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
398,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 398,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 สิงหาคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารผลิตกรรมการเกษตร 
ฉบับที่ : 2
หน้า : 54-65
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023