รูปแบบที่เหมาะสมในการใช้เศษเหลือปลาจากกระบวนการผลิตปลาส้มและหอยเชอรี่เป็นอาหารเลี้ยงปลาช่อนในระบบน้ำหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ เข้าสู่การเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-011.8
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : รูปแบบที่เหมาะสมในการใช้เศษเหลือปลาจากกระบวนการผลิตปลาส้มและหอยเชอรี่เป็นอาหารเลี้ยงปลาช่อนในระบบน้ำหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ เข้าสู่การเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมของรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้เศษเหลือปลาจากกระบวนการผลิตปลาส้มและหอยเชอรี่เป็นอาหารเลี้ยงปลาช่อนในระบบน้าหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์เพื่อพัฒนาสู่การเลี้ยงสัตว์น้าอินทรีย์โดยแต่ละการทดลองเลี้ยงด้วยอาหารผสมสูตรที่มีหอยเชอรี่ในและของเหลือจากการแปรรูปสัดส่วนทดแทนปลาป่นร้อยละ 0, 25 และ 50 และชุดควบคุมเลี้ยงด้วยอาหารสาเร็จรูป ทดลองเลี้ยงอัตราความหนาแน่น 100 ตัวต่อตารางเมตร ระยะเวลา 3 เดือน โดยการทดลองที่ 1 เลี้ยงปลาวัยอ่อนจนถึงขนาด 3 นิ้ว เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าชุดควบคุมให้น้าหนักที่เพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ 22.87+1.57 กรัม เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน (p>0.05) ในทุกชุดการทดลอง อัตราการรอดตายของชุดการควบคุมมีค่าสูงสุดเท่ากับ 64.58+5.17 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแตกต่างกับทุกชุดการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อและอัตราการเจริญเติบโตต่อวันของแต่ละชุดการทดลองไม่มีความแตกต่างกัน (p>0.05) การทดลองที่ 2 เลี้ยงปลาช่อนขนาด 3 นิ้วจนถึงขนาดตลาดระยะเวลา 3 เดือน พบว่าชุดควบคุมและชุดทดลองที่เลี้ยงด้วยอาหารผสมหอยเชอรี่ 50 เปอร์เซ็นต์ มีน้าหนักที่เพิ่มขึ้นสูงสุดเท่ากับ 109.0+1.14 กรัม และ 102.0+1.07 กรัม โดยเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยทางสถิติพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน อัตราการรอดตาย อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และอัตราการเจริญเติบโตต่อวันของชุดควบคุมให้ค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 79.40 เปอร์เซ็นต์, 1.12 และ 1.34+1.28 กรัมต่อตัวต่อวัน ตามลาดับ ด้านคุณสมบัติของคุณภาพน้ามีเหมาะสมต่อการเลี้ยงและการเจริญเติบโตของปลาช่อนและผลของการใช้อาหารแต่ละชุดการทดลองให้ผลคุณภาพน้าที่ไม่แตกต่างกัน (p>0.05) ส่วนประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของผักที่ใช้ในระบบอะควาโปนิคส์พบว่าความสูงและน้าหนักที่เพิ่มขึ้นของผักบุ้งในชุดการทดลองที่ 3 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) กับชุดการทดลองที่ 1, 2 และ 4 ทั้งนี้ผลการศึกษาทาให้ทราบว่าของการใช้แหล่งโปรตีนอื่นเพื่อทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารสาหรับเลี้ยงปลาช่อนสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาเลี้ยงปลากินเนื้อชนิดอื่นได้

คำสำคัญ : ปลาช่อน อะควาโปนิคส์ หอยเชอรี่ เศษเหลือปลา
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Suitable use of fermented fish by-product and snail in diets for fish in aquaponics system to organic aquaculture
Abstract :

The objective of this research was to study the suitability of an appropriate scheme for the use of fish residues from the fermented fish production process and fresh snail meat as a feed for snakehead fish in aquaponic recirculation water systems for development into aquaculture. Each experiment was fed formulated diets containing fish residues and fresh snail meat in ratio 0 (T2), 25% (T3) and 50% (T4) while fishmeal was use as a control (T1). The 100 fishes/m2 was the stocking density and the experiment were conducted into 2 experiments using size of snakehead as a criteria. The first experiment is the nursing period of snakehead fish until they reach 3 inches size within 3 months while the second experiment was used the fish from previously experiment until they reach marketable size. The results from first experiment showed that the control obtained the highest weight gain at 22.87 ? 1.57 g. and no significant difference (p>0.05) between other experiment. Similarly with the survival rate of control obtained the highest at 64.58 ?5.17 percent but there are significances different (p <0.05) with others, while no significant different (p>0.05) for feed conversion ratio (FCR) and average daily weight gain (ADG). The result of second experiment showed that the control and 50% fresh snail meat were 109.0?1.14 g and 102.0?1.07 g., respectively and there were no differences while the control obtained the highest survival rate, feed conversion ratio, average daily weight gain with 79.40%, 1.12 and 1.34?1.28 g/fish/day, respectively. The water quality properties were suitable for the culture and growth of snakehead fish and the effects of water quality was not different (p> 0.05). The efficiency of growth of vegetables used in the aquaponic system showed that the height and weight increase of morning glory in the aquaponic system were found to be significantly different (p <0.05) followed T3 showed the highest height and weight compared with the others. The results indicated that the use of other protein sources to replace fishmeal in the feed formulationwas significantly different. Snakehead fish can be used as a development guideline for raising other carnivorous fish species.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-011 : การผลิตสัตว์เศรษฐกิจเพิ่มความมั่นคงและปลอดภัยทางอาหาร
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 น.ส.น้ำเพชร ประกอบศิลป์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
45 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประจวบ ฉายบุ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
45 ไม่ระบุ
3 นายสุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อานุภาพ วรรณคนาพล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
734,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 734,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023