การปรับปรุงคุณภาพไข่ไก่ด้วยสาหร่ายไปรูลิน่า

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-011.7
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การปรับปรุงคุณภาพไข่ไก่ด้วยสาหร่ายไปรูลิน่า
บทคัดย่อ :

การปรับปรุงคุณภาพไข่ไก่ด้วยสาหร่ายสไปรูลิน่าในครังนี้ได้ทาการศึกษาในแม่ไก่สายพันธุ์ไฮไลน์ อายุ 18 สัปดาห์ 240 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองละ 4 ซ้า ซ้าละ12 ตัว กลุ่มที่ 1 แม่ไก่ได้รับอาหารควบคุมไม่เสริมสาหร่ายสไปรูลิน่า (0%) กลุ่มที่ 2, 3, 4 และ 5 แม่ไก่ได้รับอาหารควบคุมเสริมสาหร่ายสไปรูลิน่าที่ 0.05, 0.10, 0.15 และ 0.20% ตามลาดับ ในครั้งนี้ได้ทาการศึกษาสมรรถภาพการผลิตไข่ และคุณภาพไข่ เป็นเวลา 24 สัปดาห์ และเมื่อสิ้นสุดการทดลอง ทาการศึกษาคุณค่าทางโภชนะของไข่ไก่ต้มสุกทั้งฟอง กรดอะมิโนในไข่ขาวต้มสุก และกรดไขมัน คลอเลสเตอรอลและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในไข่แดงต้มสุก ผลการศึกษาพบว่า ตลอด 1-24 สัปดาห์ การใช้สาหร่ายสไปรูลิน่าไม่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ คุณภาพไข่ และปริมาณคลอเลสเตอรอลในไข่แดงต้มสุก (P > 0.05) ยกเว้นการใช้ที่ระดับ 0.10 - 0.20 % ช่วยเพิ่มสีไข่แดง ( P < 0.05) ไม่พบความแตกต่างระหว่างคุณค่าทางโภชนะของไข่ไก่ทั้งฟอง (P > 0.05) ยกเว้นการใช้ที่ระดับ 0.10 – 0.20 % ทาให้ปริมาณเถ้ารวมมีค่าต่ากว่ากลุ่มควบคุม (P < 0.05) ไม่พบความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในไข่แดงในทุกกลุ่มทดลอง และไม่ส่งผลกระทบต่อกรดไขมันในไข่แดง (P > 0.05) ยกเว้นการใช้สาหร่ายสไปรูลิน่าที่ระดับ 0.20% ทาให้ปริมาณ margaric acid, elaidic acid, eicosatrienoic acid และ docosahexaenoic acid มีค่าต่ากว่ากลุ่มควบคุม (P < 0.05) แต่ทาให้ arachidonic acid มีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุม (P < 0.05) และการใช้ที่ระดับ 0.15 % ทาให้ปริมาณ elaidic acid และ eicosatrienoic acid มีค่าต่ากว่ากลุ่มควบคุม (P < 0.05) และการใช้ที่ระดับ 0.15% ช่วยเพิ่มระดับกรดอะมิโนที่สาคัญคืออิสติดีน ไฮดรอกซีไลซีน และทริปโตเฟน (P < 0.05) ดังนั้นสาหร่ายสไปรูลิน่าช่วยปรับปรุงคุณภาพไข่โดยระดับการใช้ที่เหมาะสมคือ 0.15 % และสามารถนาไข่ไก่จากแม่ไก่ที่ได้รับอาหารที่มีการเสริมสาหร่ายสไปรูลิน่า 0.15 % ไปพัฒนาเป็นอาหารสุขภาพหรืออาหารฟังก์ชั่น (Functional food) สาหรับการตอบสนองความต้องการเป็นพิเศษของผู้บริโภคได้

คำสำคัญ : ไก่ไข่ ผลผลิตไข่ คุณภาพไข่ สไปรูลิน่า
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Egg quality improvement by using Spirulina platensis
Abstract :

Egg quality improvement by using Spirulina platensis was conducted in 240 Hy-Line laying hens 18 weeks of ages. The laying hens were randomly assigned to 5 experimental groups (Completely Randomized Design; CRD), 4 replicates of 12 laying hens. Group 1, the chickens were fed control diet without Spirulina platensis (0%). Group 2, 3, 4 and 5 the chickens were fed the control diet in which the 0.05, 0.10, 0.15 and 0.20% Spirulina platensis were added respectively. The egg production performance and egg quality were observed for 24 weeks. The nutritional content in boiled whole egg, amino acid profile in boiled white egg and fatty acid profile, cholesterol content and antioxidant activity in boiler egg yolk were observed at the end of the experimental period. The overall results of the 1-24 weeks showed that of the experimental the Spirulial platensis were not affected on egg production performance, egg quality and boiled egg yolk cholesterol content (P > 0.05) excepted that the using at the level of 0.10 – 0.20% increased egg yolk colour (P < 0.05). The nutritional content in whole boiled egg were not different (P > 0.05) excepted that the using at the level of 0.10 – 0.20% showed the lower crude ash than that of control group (P < 0.05). The antioxidant activity in boiled egg yolk were not found in all experimental groups. The Spirulunina platensis were not affected on fatty acid profile (P > 0.05) excepted that the using at the level of 0.20% decreased margaric acid, elaidic acid, eicosatrienoic acid and docodahexaenoic acid (P < 0.05) but increased arachidonic acid (P < 0.05) and the using at the level of 0.15% decreased elaidic acid and eicosatrienoic acid (P < 0.05). There were no different between amino acid profile in boiled white egg (P > 0.05) excepted that the using at the level of 0.15% increased histidine, hydroxylysine and tryptophan (P < 0.05). Therefore, the Spirulina platensis improved the egg quality and the suitable level for using in laying hen diet is 0.15%. The eggs from the laying hen those fed 0.15% Spirulina platensis can develop to be functional food for the specific need of the consumer.

Keyword : laying hen, egg production, egg quality, Spirulina platensis
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-011 : การผลิตสัตว์เศรษฐกิจเพิ่มความมั่นคงและปลอดภัยทางอาหาร
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บัวเรียม มณีวรรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราพร โรจน์ทินกร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 นายครรชิต ชมภูพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี / ฝ่ายงานฟาร์ม
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล พรมยะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
863,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 863,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023