ผลของอาหารผสมสารสกัดกระเทียมต่อการเหนี่ยวนำให้เป็นเพศผู้ การ เจริญเติบโต และต้นทุนการผลิตของปลานิล เพื่อเป็นอาหารปลอดภัย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-011.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของอาหารผสมสารสกัดกระเทียมต่อการเหนี่ยวนำให้เป็นเพศผู้ การ เจริญเติบโต และต้นทุนการผลิตของปลานิล เพื่อเป็นอาหารปลอดภัย
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโต อัตราการแลกเนื้อ อัตราการรอดตาย คุณภาพน้า ปริมาณสารสกัดกระเทียมที่เหมาะสมต่อการเหนี่ยวนาให้เป็นเพศผู้ และต้นทุนการผลิต ปลานิลที่ได้รับอาหารผสมสารสกัดกระเทียมในปริมาณที่แตกต่างกัน วางแผนการทดลองแบบ CRD แบ่งเป็น 6 ชุดการทดลอง ๆ ละ 3 ซ้า คือ อาหารชุดควบคุม (ไม่ผสม 17?-methyltestosterone และสารสกัดกระเทียม) อาหารผสม 17?-methyltestosterone อาหารผสมสารสกัดกระเทียม 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ใช้ลูกปลานิลระยะหลังถุงไข่แดงยุบ น้าหนักเฉลี่ย 0.01 กรัม/ตัว เลี้ยงในตู้ปลาขนาด 25x50x32 เซนติเมตร อัตราความหนาแน่น 3,000 ตัว/ตารางเมตร ให้อาหารทดลอง 5 ครั้ง/วัน เป็นเวลา 28 วัน พบว่า อาหารผสมสารสกัดกระเทียม 50 เปอร์เซ็นต์ ทาให้ลูกปลานิลมีค่าน้าหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย (กรัม/ตัว) อัตราการเจริญเติบโตจาเพาะ (เปอร์เซ็นต์/วัน) อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (กรัม/ตัว/วัน) มีแนวโน้มที่ดีกว่าชุดการทดลองอื่น แต่อาหารผสมสารสกัดกระเทียม 25 เปอร์เซ็นต์ มีแนวโน้มทาให้ค่าอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อดีที่สุด (2.61?0.14) และอาหารผสมกระเทียม 75 เปอร์เซ็นต์ มีแนวโน้มทาให้ค่าอัตราการรอดตายสูงที่สุด (58.67?3.79) ส่วนคุณภาพน้าตลอดการทดลองในทุกชุดการทดลองมีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ อัตราการแปลงเป็นเพศผู้ พบว่าลูกปลานิลที่ได้รับอาหารผสมฮอร์โมน 17?-MT มีค่าอัตราการแปลงเป็นเพศผู้ คือ 99.00?0.89 เปอร์เซ็นต์ มากที่สุดอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับชุดการทดลองอื่น อย่างไรก็ตามอาหารผสมสารสกัดกระเทียม 50 เปอร์เซ็นต์ ก็มีค่าที่ใกล้เคียงอาหารผสมฮอร์โมน 17?-MT คือ 89.50?1.00 เปอร์เซ็นต์ ส่วนต้นทุนการผลิต พบว่าอาหารชุดควบคุมมีค่าต่าที่สุด (0.35?0.01 บาท/ตัว) แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับอาหารผสมสารสกัดกระเทียม 25 และ 50 เปอร์เซ็นต์ (0.36?0.03 และ 0.38?0.01 บาท/ตัว) แต่มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเทียบกับอาหารผสมสารสกัดกระเทียม 75, 100 เปอร์เซ็นต์ และ 17?-MT (0.39?0.02, 0.41?0.03 และ 0.82?0.02 บาท/ตัว) ตามลาดับ

สรุปได้ว่า หารผสมสารสกัดกระเทียม 50 เปอร์เซ็นต์ มีแนวโน้มทาให้ลูกปลานิลมีประสิทธิภาพการเจริญเติบโตดีที่สุด ส่วนอาหารผสมฮอร์โมน 17? -MT มีค่าอัตราการแปลงเป็นเพศผู้ดีที่สุด แต่ลูกปลานิลที่ได้รับหารผสมสารสกัดกระเทียม 50 เปอร์เซ็นต์ ก็มีค่าที่ใกล้เคียงกับชุดการทดลองดังกล่าว และอาหารชุดควบคุมมีค่าต่าที่สุด คือ 0.35?0.01 บาท/ตัว

คำสำคัญ : ปลานิล การแปลงเพศ และสารสกัดกระเทียม
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Effect of Garlic Extract on Sex Reversal, Growth Performance and Cost Benefit of Nile Tilapia, Oreochromis niloticus (Linnaeus, 1758) Production for Food Safety
Abstract :

This research aims to study the growth rate, FCR, Survival rate, water quality, appropriate amount of garlic extracts for male induction and the production cost of Nile tilapia fed different amounts of food with garlic extract. The experimental design was CRD is divided into 6 treatments with 3 replicates, the control diet (without of 17?-methyltestosterone and garlic extract), Mixed Food 17?- MT and garlic extract diet 25, 50, 75, 100 percent, respectively. The Nile tilapia larvae stage the average weight is 0.01 grams/ aquarium in the size of 25x50x32 cm, density of 3,000 fish/square meter. Feeding the experiment 5 times/day for 28 days. It was found that 50 percent garlic extracts maked Nile tilapia larvae an Average weight gain (gram/fish), Specific growth rates (Percentage/day), Average Daily Gain (gram/fish/day), tend to be better than other treatments. However, 25 percent garlic extracts tended to have the best FCR (2.61?0.14). And 75 percent garlic extracts tended to have the highest survival rate (58.67?3.79). Water quality throughout the experiment was not statistically different. Sex reversal rate found that Nile tilapia larvae fed mixed 17?-MT (99.00?0.89 percent), the highest with statistical significance (p<0.05). In comparison to other treatments. However, 50 percent garlic extracts (89.50?1.00 percent) were similar to the fed mixed 17?-MT. The production cost found that the control was the lowest (0.35?0.01 baht/fish) with no statistically significant difference (p>0.05) when compared with 25, 50 percent with garlic extracts (0.36?0.03 and 0.38?0.01 baht/fish) but, there were statistically different values (p<0.05) when compared to garlic extracts 75, 100 percent and 17?-MT (0.39?0.02, 0.41?0.03 and 0.82?0.02 baht/fish), respectively.

In conclusion, 50 percent garlic extracts tended to have the best growth performance. The 17?-MT was the best sex reversal rate, but the Nile tilapia larvae fed with 50 percent garlic extracts were similar to that experimental. And the control was the lowest value of 0.35?0.01 baht/fish.

Keyword : Nile Tilapia (Oreochromis niloticus), Sex reversal and Garlic extracts
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-011 : การผลิตสัตว์เศรษฐกิจเพิ่มความมั่นคงและปลอดภัยทางอาหาร
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นายเทพพิทักษ์ บุญทา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
70 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
156,560.00
   รวมจำนวนเงิน : 156,560.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
28 มกราคม 2562
รูปแบบการนำเสนอ : การบรรยาย
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
ชื่องานประชุม/กิจกรรม : ประชุมวิชาการเกษตร ครั้งที่ 20
สถานที่ : มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานที่จัด : มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
28 มกราคม 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : ฉบับพิเศษ 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023