การพัฒนาศักยภาพการผลิตสับประรดผลสดของไทยเพื่อการส่งออกภายใต้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-005
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาศักยภาพการผลิตสับประรดผลสดของไทยเพื่อการส่งออกภายใต้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
บทคัดย่อ :

สับปะรดเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย แต่ปัญหาที่สาคัญคือปริมาณสินค้าล้นตลาด และความผันผวนของราคาสับปะรด ที่ผ่านมาประเทศไทยไม่ได้ให้ความสาคัญกับสับปะรดผลสด ทาให้เสียโอกาสในตลาดการค้า หากมีการส่งเสริมและผลักดันอย่างจริงจัง สามารถเป็นแหล่งรายได้และช่วยสร้างความมั่นคงในระบบเศรษฐกิจของไทย การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพการผลิตสับปะรดผลสดเพื่อการส่งออกภายใต้มาตรฐานการเกษตรที่ดี โดยทาการศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการผลิต ปัจจัยประชากรศาสตร์และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคสับปะรดผลสด ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการผลิตสับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก กลยุทธ์ในการสร้างการสื่อสารแบรนด์เพื่อการผลิตและส่งออกสับปะรด และมูลค่าส่งออกสับปะรดผลสดในอนาคต ทาการสารวจข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดจานวน 282 คน ในเขตจังหวัดราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มที่ 2 ผู้บริโภคชาวต่างชาติในภูมิภาคเอเชียจานวน 320 คน โดยทาการศึกษาผู้บริโภคชาวจีน ฮ่องกง ลาว สิงคโปร์ มาเลเซีย พม่า เวียดนาม และกัมพูชา กลุ่มที่ 3 ผู้ที่ประสบความสาเร็จในการเพาะปลูกสับปะรด จานวน 7 คน และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ศึกษาให้กับกลุ่มเกษตรกรอีกจานวน 100 คน ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ผลการวิจัยดังนี้พันธุ์สับปะรดผลสดที่เพาะปลูก ได้แก่ พันธุ์ปัตตาเวีย ภูแล นางแล เพชรบุรี1 MD2 ปลูกด้วยหน่อจานวนเฉลี่ย 7,223 ต้น/ไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 5.88 ตัน/ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 21,106 บาท/ไร่ (ไม่รวมค่าหน่อ) และผลตอบแทนขึ้นกับว่าปลูกสายพันธุ์อะไร สาหรับสายพันธุ์ปัตตาเวียได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 39,932 บาท/ไร่ และสายพันธุ์เพชรบุรี1 ได้ผลตอบแทน 120,000 บาท/ไร่ โดยกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดผลสดจะมีการปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP ที่ดีกว่าผู้ปลูกสับปะรดโรงงาน ในขณะที่ผู้ปลูกสับปะรดโรงงานพันธุ์ปัตตาเวีย มีต้นทุนเฉลี่ยต่ากว่าผู้ปลูกสับปะรดผลสดประมาณ 3,990 บาท และได้ผลตอบแทนเฉลี่ยต่ากว่าผู้ปลูกสับปะรดผลสดประมาณ 17,561 บาท

ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการผลิต คือ การอบรมมาตรฐาน GAP และการอบรมการเพาะปลูกสับปะรดผลสด แรงจูงใจที่สาคัญในการผลิตสับปะรดผลสด คือ ราคา ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการเพาะปลูกสับปะรดผลสด คือ ภูมิภาคที่ทาการเพาะปลูก การปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP และการอบรมเกี่ยวกับการเพาะปลูกสับปะรดผลสด

พฤติกรรมการบริโภคสับปะรดของชาวต่างชาติในภูมิภาคเอเชีย พบว่ามีความถี่ในการซื้อสับปะรดผลสด 1 ครั้ง/เดือน ซื้อมาจากตลาดสด และซุปเปอร์มาร์เก็ต/ห้าง มีราคาอยู่ในช่วง 41 บาทขึ้นไป และวัตถุประสงค์ในการซื้อสองอันดับแรกคือ เพื่อทานเองและทานกับครอบครัว ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อคือ รสชาติดี คุณค่าทางโภชนาการ และความสะดวกในการหาซื้อ โดยตลาดเป้าหมายต่อการส่งออก ที่น่าสนใจสาหรับการส่งออกสับปะรดผลสด ได้แก่ ประเทศ จีน ฮ่องกง สิงค์โปร์ และมาเลเซีย

การสร้างแบรนด์มีทั้งสร้างแบรนด์เองและผลิตให้บริษัทไปทาแบรนด์เพื่อจัดจาหน่ายและส่งต่างประเทศ สร้างการรับรู้แบรนด์โดยการใช้สื่อออนไลน์และการออกร้าน สร้างความชื่นชอบและทดลองแบรนด์ด้วยการให้ลองชิมรสชาติ การได้รับรางวัล เน้นรสชาติดีและมีความปลอดภัย รวมทั้งการจัดจาหน่ายตามร้าน Modern Trade ส่วนการภักดีต่อแบรนด์ทาโดยการรักษาคุณภาพ ราคาเหมาะสมและหาซื้อสะดวก จากผลวิจัยที่ได้นามาจัดทาเผยแพร่สารคดีโทรทัศน์ 2 เรื่อง คือ เรื่องการผลิตสับปะรดให้มีคุณภาพ ความยาว 13:12 นาที และเรื่องการสร้างและสื่อสารแบรนด์สับปะรด ความยาว 12:08 นาที

สาหรับแนวโน้มการส่งออกในอนาคตพบว่า มูลค่าการส่งออกสับปะรดผลสดหรือแช่เย็น มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ตัวแบบพยากรณ์ ARIMA(4,1,0) สามารถพยากรณ์มูลค่าส่งออกล่วงหน้า 6 เดือน ในเดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2562 ได้มูลค่าส่งออกอยู่ระหว่าง 33,179,616 ถึง 34,768,203 บาทเมื่อนาองค์ความรู้ที่ศึกษาถ่ายทอดให้กับเกษตรกรในหัวข้อ “การผลิตสับปะรดผลสดเพื่อการส่งออก” พบว่าผู้เข้าร่วมอบรมมีความถึงพอใจในระดับมาก โดยพึงพอใจวิทยากรผู้ให้ความรู้ และประโยชน์ที่ได้รับมากที่สุด โดยหลังอบรมแล้วได้รับความรู้และเข้าใจมากขึ้น ได้แนวทางในการผลิตสับปะรดผลสดที่ดี แนวทางในการพัฒนาสู่การส่งออกในอนาคต

คำสำคัญ : เทคนิคการปลูกสับปะรด การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี พฤติกรรมการบริโภคสับปะรด การสร้างแบรนด์ การพยากรณ์ด้วยวิธีบอกซ์และเจนกินส์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The development model of Thailand fresh pineapple production potential for export under good agriculture practices (GAP) standard
Abstract :

Pineapple is an important economic crop of Thailand. The key problem is the oversupply of products and the volatility of pineapple prices. In the past, Thailand had not focused on fresh pineapples which leads to lose opportunities in the commercial market. Actively promoting and driving, fresh pineapple will be a source of income and help stabilize the economy of Thailand. This study aimed to study the potential of fresh pineapples for export under good agricultural standards including the efficiency of producing fresh pineapples, demographic factors and marketing mix factors affecting consumer behavior of fresh fruit pineapples, factors affecting decision in fresh pineapple production for export strategies for building brand communication for pineapple production and export, and the export value of fresh pineapples model. The data were surveyed under three sample groups such as group1: 282 pineapple growers in Ratchaburi, Phetchaburi and Prachuap Khiri Khan provinces; Group2: 320 foreign consumers in Asia by studying Chinese, Hong Kong, Laos, Singapore, Malaysia, Myanmar, Vietnam and Cambodia consumers and 7 successful pineapple growers. The results are as follows

The fresh pineapple cultivated is Pattawia, Phulae, Nanglae, Phetchaburi1, MD2, etc. with density of 7,223 suckers per rai. The average yield was 5.88 tons/ rai, the average production cost excluding the cost of suckers was 21,106 baht/rai. The average return depends on the pineapple species, the average return for the Pattawia was 39,932 baht/rai, while the Phetchaburi1 was 120,000 baht/rai. In term of production efficiency, it was found that the samples of fresh pineapple growers had better compliance with the GAP standard than the factory pineapple growers.

When comparing with the factory pineapple grower based on Pattawia, the average production cost was lower than the fresh pineapple growers about 3,990 baht/rai and the average return was lower than the fresh pineapple growers approximately 17,561 baht/rai.

The factors affecting production efficiency are GAP standard training and fresh pineapple cultivation training. The main incentives for fresh pineapple production was the price of pineapples. The factors affecting the cultivation decisions of fresh pineapples are province, GAP compliance and fresh pineapple cultivation training.

The consumption behavior of pineapples of foreigners in Asia was found that the respondents preferred purchasing fresh pineapple 1 time / month bought from the fresh market and supermarkets / shopping malls, with the price ranges from 41 baht and up. The top two purchaseobjectives are buying for yourself and your family. The factors that affect the purchase decision are good taste, nutritional value and convenience place. The target market for exporting fresh pineapple are China, Hong Kong, Singapore and Malaysia.

There were 2 kinds of brand builders for pineapple, grower-made and company-made (OEM). In brand awareness stage, most growers preferred using social media, event marketing and product display, in brand preference and brand trial stages, media used most were free trial, free product tasting, award winning display and personal selling. For brand loyalty stage, strategies used most were consistence of high quality product, appropriate price and convenience place. Two topics of documentary video were produced, “High Quality Pineapple Production” (13.12 mins) and “Pineapple Branding” (12.08 mins) .

For future export trends, it was found that export value of fresh or chilled pineapple continues increasing over the past two years. The forecast model using ARIMA(4,1,0) could predict the export value for six months in advance, January until June 2019 which were between 33,179,616 and 34,768,203 Bath.

When publishing the research results to farmers on the topic “Producing fresh pineapples for export”, it found that the participants were satisfied to a great extent especially speakers and the benefits received from training. After training, they gained more knowledge and understanding about producing good fresh pineapple and the development approach to future exports.

Keyword : Pineapple growing techniques, Good agricultural practice, Pineapple consumers behavior, Pineapple Branding, Box and Jenkins method
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ วงศ์พระจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์อดิศร สิทธิเวช
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ โฆษภัทรพิมพ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
166,050.00
   รวมจำนวนเงิน : 166,050.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023