การคัดเลือก การศึกษาพันธุ์ การทดสอบผลผลิตหอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้าหอม ต้านทานต่อโรคแมลง คุณค่าทางโภชนาการสูง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-004.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การคัดเลือก การศึกษาพันธุ์ การทดสอบผลผลิตหอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้าหอม ต้านทานต่อโรคแมลง คุณค่าทางโภชนาการสูง
บทคัดย่อ :

ในปัจจุบันกระแสของความนิยมข้าวที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงหรือข้าวที่มีคุณลักษณะพิเศษได้มีเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงควรมีการศึกษาคัดเลือกพันธุ์ข้าวลักษณะดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้เป็นข้าวที่ต้านทานโรคแมลงที่สาคัญในข้าว ซึ่งจะช่วยเหลือเกษตรกร ทางด้านสุขภาพอนามัยที่ไม่ต้องพึ่งพาสารเคมีในการฉีดป้องกันในแปลงนาข้าว ดังนั้นโครงการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือก ศึกษาพันธุ์ และทดสอบผลผลิตของสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้า หอม ต้านทานต่อโรคแมลง ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง จากการดาเนินงานในปีงบประมาณปี 2562 ฤดูที่ 1 (ฤดูนาปี 2561) ปลูกคัดเลือก ต้น F5 ของประชากรหอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้าหอม ต้านทานต่อโรคแมลง จานวน 43 สายพันธุ์ คัดเลือกต้นที่มีลักษณะทางการเกษตรที่ดีได้ทั้งหมด 207 สายพันธุ์ ผสมตัวเอง ได้เมล็ด F6 จากนั้น นาเมล็ด F6 ตรวจด้วยเครื่องหมายโมเลกุล Bph3xa5qBL1qBL11 เลือกต้นที่มี ยีโนไทป์เป็น homozygous ของตาแหน่งยีน Bph3xa5qBL1qBL11 มากที่สุด ได้จานวน 87 สายพันธุ์ ที่มีอายุวันออกดอก 75% อยู่ระหว่าง 90- 106 วัน สาหรับ ฤดูที่ 2 (ฤดูนาปรัง 2562)ปลูกคัดเลือกต้น F6 ของประชากร หอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้าหอม ต้านทานต่อโรคแมลง จานวน 70 สายพันธุ์ คัดเลือกต้นที่มีลักษณะทางการเกษตรที่ดีได้ทั้งหมดประมาณ 510 สายพันธุ์ ผสมตัวเอง ได้เมล็ด F7 จากนั้นนาเมล็ด F7 ตรวจด้วยเครื่องหมายโมเลกุล Bph3xa5qBL1qBL11 เลือกต้นที่มียีโนไทป์เป็น homozygous ของตาแหน่งยีน Bph3xa5qBL1qBL11 มากที่สุด ได้จานวน 50 สายพันธุ์ ที่มีอายุวันออกดอก 75% อยู่ระหว่าง 100-130 วัน ซึ่งสามารถนาไปปลูกศึกษาพันธุ์ขั้นต้นในฤดูต่อไปได้

คำสำคัญ : การคัดเลือก การศึกษาพันธุ์ การทดสอบผลผลิต หอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้าหอม ต้านทานต่อโรคแมลง คุณค่าทางโภชนาการสูง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Selection, Observation and Yield Trials of Non-photoperiod Sensitive, Semi dwarf, Aromatic Non-Glutinous, Resistant to Diseases and Insect and High Nutritional Value of Hom Mali Dang Rice Lines.
Abstract :

Nowadays, the popularity trend of rice with high nutritional value or special features has been continuously increasing. Therefore, the selection of those rice varieties should be studied as the guideline to improve its resistance to major insect pest diseases that will help the farmers in sanitation and no reliance on the chemicals for rice protection. Thus, this project aims to select, study, and test the yield of non-photoperiod sensitive, semi dwarf, aromatic non -glutinous, insect and disease resistance with high nutritional value of Hom Mali Dang rice lines. During the first year (2019), season 1 (rainy season 2018), selecting and planting F5 of all non-photoperiod sensitive, semi dwarf, aromatic non-glutinous, diseases and insect resistance with high nutritional value of Hom Mali Dang in 43 rice lines was performed. All 207 lines with the good agricultural characteristics were selected and F6seeds were self-pollinated. Then, F6seeds were analyzed by Bph3xa5qBL1qBL11 molecular markers and the most homozygous genotype of the Bph3xa5qBL1 qBL11 gene in 87 lines with the flowering date average of 75% 90-106 days was selected. Meanwhile, during season 2 (dry season 2019), selecting and planting F6 of all non-photoperiod sensitive, semi dwarf, aromatic non -glutinous, diseases and insect resistance, and high nutritional value of Hom Mali Dang in 70 rice lines were completed. Then, all 510 lines with good agricultural characteristics were selected. F7 seeds were self-pollinated. F7 seeds were analyzed by Bph3 xa5 qBL1qBL11 molecular markers and selecting the most homozygous genotype of the Bph3xa5qBL1qBL11 gene in 50 lines with the flowering date average of 75% 100-130 days was done. These seeds can be cultivated for observation in the next season.

Keyword : selection, observation, yield trails, Hom Mali Dang, non-photoperiod sensitive rice, semi-dwarf rice, aromatic non-glutinous rice, Hom Mali Dang, disease and insect resistance, high nutritional values
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นางสาวอนุชิดา วงศ์ชื่น
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ แสงทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ว่าที่ ร.ต. หญิงศิรินภา อ้ายเสาร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.ศรัณย์ จันทร์ทะเล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะศิลปศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
5 รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพรรณ ฉิมสุข
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
3,081,112.00
   รวมจำนวนเงิน : 3,081,112.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023