การทดสอบผลผลิต การคุ้มครองพันธุ์ และการผลิตเมล็ดพันธุ์ ของสายพันธุ์ ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้า/ข้าวเหนียว หอม สีแดง ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-004.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การทดสอบผลผลิต การคุ้มครองพันธุ์ และการผลิตเมล็ดพันธุ์ ของสายพันธุ์ ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้า/ข้าวเหนียว หอม สีแดง ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง
บทคัดย่อ :

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้า/ข้าวเหนียว หอม

สีแดง ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ด้วยวิธีผสมกลับ โดยใช้เครื่องหมาย hd1 hd2 hd4 hd5 sd1 fgr

wx และ SSIIa ช่วยในการคัดเลือก (MAB) จะได้ข้าวที่สามารถปลูกได้ตลอดปี ต้นเตี้ย ออกดอกเร็ว

หอม มีทั้งข้าวเจ้า และข้าวเหนียว รวม 17 สายพันธุ์ ในงบประมาณปี 2562 เปรียบเทียบผลผลิต

ภายในสถานีของสายพันธุ์ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้า หอม สีแดง จา นวน

10 สายพันธุ์ ร่วมกับพันธุ์เปรียบเทียบพันธุ์ทับทิมชุมแพ พันธุ์ Rice berry และพันธุ์สังข์หยดพัทลุง

และสายพันธุ์ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเหนียว หอม สี แดง จา นวน

7 สายพันธุ์ ร่วมกับพันธุ์เปรียบเทียบพันธุ์สันป่ าตอง 1 และพันธุ์ กข-แม่โจ้ 2 ในฤดูนาปี 2561 และ

ฤดูนาปรังปี 2562 ใช้แผนการทดลองแบบบล็อกสุ่มสมบูรณ์ (Randomized Complete Block

Design) จา นวน 4 ซ้า พบว่าในฤดูนาปี 2561 และฤดูนาปรังปี 2562 ผลผลิตมีความแตกต่างทางสถิติ

อย่างมีนัยสาคัญยิ่ง (p<0.01) จึงนา ค่าเฉลี่ยของลักษณะนั้น ๆ ระหว่างพันธุ์เปรียบเทียบกัน โดยวิธี

Duncan’s new Multiple Range Test (DMRT) ได้ดังนี้ ผลผลิตของข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อ

ช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้า หอม สีแดง ให้ผลผลิตสูงสุด 644, 832 กิโลกรัมต่อไร่ตามลา ดับ แตกต่าง

ทางสถิติจากพันธุ์สังข์หยดพัทลุง (545 กิโลกรัมต่อไร่) และไม่แตกต่างทางสถิติจากพันธุ์

ทับทิมชุมแพ (575 กิโลกรัมต่อไร่) และพันธุ์ Rice berry (566, 771 กิโลกรัมต่อไร่ตามลา ดับ) ซึ่ง

ข้าวเปลือกมีความยาว กว้าง หนา เฉลี่ย (10.00, 9.57), (2.17, 2.02) และ (1.78, 1.73) มิลลิเมตร

ตามลาดับ และข้าวกล้องมีความยาว กว้าง หนา เฉลี่ย (6.78, 6.38), (1.82,1.71) และ (1.58, 1.54)มิลลิเมตรตามลาดับ มีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) เฉลี่ย 1.89 ppm การทดสอบ

ปฏิกิริยาต่อโรคไหม้มีปฏิกิริยาระดับ ค่อนข้างต้านทาน (MR) การทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคขอบใบ

แห้งมีปฏิกิริยาระดับ ค่อนข้างอ่อนแอ (MS) ถึงอ่อนแอมาก (HS) และการทดสอบปฏิกิริยาต่อเพลี้ย

กระโดดสีน้า ตาลมีปฏิกิริยาระดับ ค่อนข้างอ่อนแอ (MS) ถึงอ่อนแอมาก (HS) ส่วนผลผลิตของ

สายพันธุ์ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเหนียว หอม สีแดง ให้ผลผลิตสูงสุด 587,

961 กิโลกรัมต่อไร่ตามลาดับ แตกต่างทางสถิติจากพันธุ์ กข-แม่โจ้ 2 ฤดูนาปี แต่ไม่แตกต่างทาง

สถิติในฤดูนาปรัง (681, 1,013 กิโลกรัมต่อไร่ตามลาดับ) และไม่แตกต่างทางสถิติจากสันป่าตอง 1

ในฤดูนาปี แต่แตกต่างทางสถิติในฤดูนาปรัง (579, 496 กิโลกรัมต่อไร่ตามลา ดับ) ซึ่งข้าวเปลือกมี

ความยาว กว้าง หนา เฉลี่ย (10.35, 9.97), (2.08, 1.99) และ (1.72, 1.70) มิลลิเมตรตามลาดับ และ

ข้าวกล้องมีความยาว กว้าง หนา เฉลี่ย (6.91, 6.54), (1.71, 1.67) และ (1.53, 1.50) มิลลิเมตร

ตามลาดับ มีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) เฉลี่ย 3.13 ppm การทดสอบปฏิกิริยาต่อ

โรคไหม้มีปฏิกิริยาระดับ ต้านทาน (R) ถึงค่อนข้างต้านทาน (MR) การทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคขอบ

ใบแห้งมีปฏิกิริยาระดับ ค่อนข้างอ่อนแอ (MS) ถึงอ่อนแอมาก (HS) และการทดสอบปฏิกิริยาต่อ

เพลี้ยกระโดดสีน้า ตาลมีปฏิกิริยาระดับ ค่อนข้างอ่อนแอ (MS) ถึงอ่อนแอมาก (HS)

คำสำคัญ : สังข์หยดพัทลุง ข้าวโภชนาการสูง การทดสอบผลผลิต การคุ้มครองพันธุ์พืช การผลิตเมล็ดพันธุ์ ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง ข้าวต้นเตี้ย ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวหอม ข้าวสีแดง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Yield Trials, Plant Protection and Seed Production of Non-photoperiod Sensitive, Semidwarf, Aromatic, Red, Non-glutinous/Glutinous and High Nutritional Value of Sang Yod Phatthalung Rice Lines.
Abstract :

The improvement of rice varieties Sang Yod Phatthalung to become non-photoperiod

sensitive, semi-dwarf, aromatic, red, non-glutinous/glutinous and high nutritional value was

conducted through backcrossing using hd1 hd2 hd4 hd5 sd1 fgr wx and SSIIa markers.

Moreover, 17 rice lines subjected to molecular marker-assisted backcrossing (MAB) showed

non-glutinous/glutinous, semi-dwarf, early flowering and aromatic rice that can grow throughout

the year. For the year 2020 budget, 10 rice lines of Sang Yod Phatthalung with non-photoperiod

sensitive, semi-dwarf, aromatic, red and non-glutinous characteristics were compared with check

rice varieties such as Tabtimchumpare, Riceberry and Sang Yod Phatthalung. 7 rice lines of Sang

Yod Phatthalung non-photoperiod sensitive, semi-dwarf, aromatic, red and glutinous were

compared with check varieties such as San-pah-tawng 1 and RD-Maejo 2. The experiment were

studied in rainy season in 2018 and dry season in 2019 by Randomized Complete Block Design

(RCBD) for 4 repetitions. The mean of product was analyzed by Duncan’s new Multiple Range

Test (DMRT) showed significant difference between rainy season in 2018 and dry season in 2019

when p<0.01. Non-photoperiod sensitive, semi-dwarf, aromatic, red and non-glutinous showed

high product of 644 and 632 kg/rai, respectively. The result of non-photoperiod sensitive,

semi-dwarf, aromatic, red and glutinous revealed that it is significantly higher than

Sang Yod Phatthalung (545 kg/rai) but not significant with Tabtimchumpare (575 kg/rai) and

Riceberry (566 and 771 kg/rai, respectively). Mean of width, length and thickness of paddy rice

were (10.00, 9.57), (2.17, 2.02) and (1.78, 1.73) mm, respectively. Also, the mean of width,

length and thickness of brown rice were ( 6. 78, 6. 38) , ( 1. 82,1. 71) and ( 1. 58, 1. 54) mm,

respectively. The presence of 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) was at 1.89 ppm. Moreover, the level of

blast disease resistant was moderately resistant (MR) . The level of bacterial leaf blight disease

and brown plant hopper (BPH) resistant were moderately susceptible (MS) to highly susceptible

(HS). The product of Sang Yod Phatthalung with non-photoperiod sensitive, semi-dwarf,

aromatic, red and non-glutinous in rainy season and dry season were high to 587 and 961 kg/rai,respectively. Result showed significant difference with RD-Maejo 2 in rainy season but not

significant in dry season (579 and 496 kg/rai, respectively). San-pah-tawng 1 were not

significantly different in rainy season but significant in dry season (681 and 1,013 kg/rai,

respectively). Mean of width, length and thickness of paddy rice were (10.35, 9.97), (2.08, 1.99)

and (1.72, 1.70) mm, respectively. The mean of width, length and thickness of brown rice were

(6.91, 6.54), (1.71, 1.67) and (1.53, 1.50) mm, respectively. The presence of 2-acetyl-1-pyrroline

( 2AP) was at 3. 13 ppm. The level of blast disease resistant was resistant (R) to modereate

susceptible (MS). Meanwhile, the level of bacterial leaf blight disease and BPH resistant were

moderately susceptible (MS) to highly susceptible (HS).

Keyword : Sang Yod Phatthalung, High Nutritional Rice, Yield Trials, Protection of Rice, Seed Production, Non-photoperiod Sensitive Rice, Semi-dwarf Rice, Non-glutinous Rice, Glutinous Rice, Aromatic Rice and Red Rice
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ แสงทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 ว่าที่ ร.ต. หญิงศิรินภา อ้ายเสาร์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 นางสาวอนุชิดา วงศ์ชื่น
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์ / สำนักงานคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ / งานบริการวิชาการและวิจัย
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.ศรัณย์ จันทร์ทะเล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะศิลปศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
5 รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพรรณ ฉิมสุข
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
3,034,424.00
   รวมจำนวนเงิน : 3,034,424.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023