ศึกษาการแสดงออกของยีนที่แตกต่างกันของปทุมมาที่ปลูกภายใต้วันสั้นและวันยาวโดยการวิเคราะห์ลำดับเบสของ RNA

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-003.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ศึกษาการแสดงออกของยีนที่แตกต่างกันของปทุมมาที่ปลูกภายใต้วันสั้นและวันยาวโดยการวิเคราะห์ลำดับเบสของ RNA
บทคัดย่อ :

ปทุมมาเป็นพืชที่ไม่สามารถออกดอกที่มีคุณภาพได้ตลอดทั้งปี การควบคุมให้ปทุมมาออกดอกนอกฤดูที่มีคุณภาพเช่นเดียวกับดอกปทุมมาตามฤดูกาลได้จึงเป็นอีกหนทางหนึ่งที่สามารถจะพัฒนาศักยภาพและเพิ่มมูลค่าการส่งออกได้ในอนาคต เนื่องจากการศึกษาด้านการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการออกดอกและพัฒนาดอกของปทุมมายังไม่เป็นที่แน่ชัด และการควบคุมปทุมมาให้สามารถออกดอกได้ตามช่วงเวลาที่ต้องการยังคงใช้วิธีการปรับระยะเวลาของการให้แสงไฟและควบคุมอุณหภูมิจากภายนอก ดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้คือการศึกษาการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อช่วงแสงและการออกดอกเพื่อต่อยอดไปยังการปรับปรุงพันธุกรรม ที่สามารถควบคุมให้ดอกปทุมมาออกดอกที่มีคุณภาพตามระยะเวลาที่ต้องการได้ โดยการทดลองจะแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกจะเป็นการศึกษาด้านสรีรวิทยาเพื่อค้นหาช่วงอายุของพืชที่ตอบสนองและไม่ตอบสนองต่อช่วงแสงโดยใช้ Transfer treatment ที่ย้ายพืชจากวันสั้นไปวันยาวทุกสัปดาห์ จากนั้นจะเก็บตัวอย่างชิ้นส่วนของใบพืชแต่ละระยะการเจริญเติบโต เพื่อนามาสกัดอาร์เอ็นเอและส่งวิเคราะห์ลาดับเบสซึ่งเป็นส่วนที่สอง จากการทดลองด้านสรีรวิทยาทาให้ทราบว่าปทุมมาเป็นพืชวันยาวแบบ Facultative long day ที่สามารถออกดอกได้เร็วและสมบูรณ์ภายใต้วันยาว นอกจากนี้แล้ว ผลของการเปรียบเทียบลาดับเบสของ RNA ระหว่างปทุมมาที่ปลูกภายใต้ วันสั้นและวันยาวพบว่า มียีนที่แสดงออกแตกต่างกันอย่างน้อย 122 ยีนซึ่งเป็นยีนที่สามารถเชื่อมโยงกับการออกดอกได้ ประกอบไปด้วยกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาคาร์โบไฮเดรต การเจริญเติบโตและพัฒนาการ การออกดอก รวมถึงระบบป้องกันอันตรายและตอบสนองต่อความเครียดของพืช

คำสำคัญ : ปทุมมา , การออกดอกนอกฤดู , ยีน , การออกดอก , ช่วงแสง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Transcriptome sequencing throughout the developmental phases between short day and long day in Curcuma alismatifolia
Abstract :

Curcuma alismatifolia is an important cut flower in Thailand which cannot be produced all year-round due to the environmental factors. Meeting the market requirements is necessary for off-season flower production. Since flowering time control in Curcuma in Thailand is done using the primitive methods such as photoperiod and temperature control. Hence, challenges of improving the method of production or the plant variety will lead to the increasing of their value which can be exported to global market. Therefore, the study of flowering genes in Curcuma is needed in order to develop the new varieties which can be produced all year round. There are two parts of this project, the study of flowering time physiology using transfer experiment and the study of flowering time gene expression using transcriptome sequencing. The results from the physiology study show that Curcuma is a facultative long day plant which flower can be produced quicker under LD condition. Moreover, RNA-Seq data shows at least 122 differentially expressed genes involved in flowering which related to carbohydrate metabolism, flowering time, growth and development, and plant defense mechanism. Key genes can be selected base on the function for further study to improve new Curcuma variety which can be produced off-season.

Keyword : Curcuma alismatifolia, off-season flowering, gene, flowering, photoperiod
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-62-01-003 : การศึกษาแนวทางการพัฒนาพันธุ์และการผลิตปทุมมาเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.ปิยธิดา อำนวยการ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
777,360.00
   รวมจำนวนเงิน : 777,360.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023