การศึกษาศักยภาพและแนวทางการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติขุนสถาน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-002
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาศักยภาพและแนวทางการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติขุนสถาน
บทคัดย่อ :

งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบทรัพยากรท่องเที่ยวในเขตอุทยานแห่งชาติขุน

สถาน และ เพื่อประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตอุทยานแห่งชาติขุนสถาน โดยใช้

วิธีการศึกษาวิจัยแบบผสานวิธี (Mix Method Approach) การศึกษาได้แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน

โดยส่วนแรก ทาการตรวจสอบทรัพยากรท่องเที่ยวในเขตอุทยานแห่งชาติขุนสถาน ด้วยวิธีการ

สารวจภาคสนาม และอ้างอิงจากแบบตรวจสอบทรัพยากรของสถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อ

อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (2545) โดยจาแนกทรัพยากรของแหล่งท่องเที่ยวออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่

ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรวัฒนธรรม ทรัพยากรเหตุการณ์สาคัญ ทรัพยากรกิจกรรม และ

ทรัพยากรบริการ ผลการศึกษาพบว่าทรัพยากรธรรมชาติเป็นทรัพยากรหลักที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว

แต่ยังมีทรัพยากรธรรมชาติอีกหลายจุด ที่ยังไม่เป็นที่รู้จัก เนื่องจากยากต่อการเข้าถึง ในขณะที่

ชุมชนโดยรอบมีส่วนช่วยสร้างทรัพยากรวัฒนธรรม ทรัพยากรเหตุการณ์สาคัญ และทรัพยากร

บริการ ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว ส่วนที่สอง ทา การประเมินศักยภาพแหล่ง

ท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตอุทยานแห่งชาติขุนสถาน โดยใช้แบบสอบถามจา นวน 3 ชุด กับผู้มีส่วนได้

เสียจา นวน 3 กลุ่ม ได้แก่ เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติขุนสถาน จา นวน 32 ราย ชุมชนโดยรอบพื้นที่

อุทยานแห่งชาติขุนสถาน จานวน 48 ราย และ นักท่องเที่ยวจานวน 407 ราย ผลการศึกษาพบว่า

ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในเขตอุทยานแห่งชาติขุนสถานในมุมมองของเจ้าหน้าที่อุทยาน

และชุมชน ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่อยู่ในระดับ ปานกลาง ในขณะที่ ในมุมมองของนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่อยู่นอกพื้นที่ กลับมองว่า อุทยานแห่งชาติขุนสถาน มี

ศักยภาพในระดับ มาก ข้อเสนอแนะ เพื่อยกระดับศักยภาพให้ทางการท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติ

ขุนสถานให้อยู่ในระดับมาก หรือ มากที่สุด ได้แก่ การบริหารจัดการการท่องเที่ยวที่ตอบสนอง

ความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วม การพัฒนาพื้นที่ในรูปแบบการ

ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยเน้นกิจกรรมนันทนาการ การศึกษาเรียนรู้ การบูรณาการสร้างความร่วมมือ

และการสนับสนุนจากฝ่ ายวิชาการในพื้นที่ และ การสร้างระบบเครือข่ายทางการท่องเที่ยว

คำสำคัญ : ศักยภาพ การจัดการ แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อุทยานแห่งชาติ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Study of Potentiality and Ecotourism Management Approach of Kun Satan
Abstract :

This research aims to evaluate the potential of tourism resources and determining the status

and potentiality of ecotourism in Khun Sathan National Park. Using the Mix Method Approach,

the study was divided into 2 parts. First examining tourist resources in Khun Sathan National Park

with the field survey method by referring to the resource inspection form of the Tourism

Development Institute for Environmental Conservation ( 2545) , where the resources of tourist

attractions are classified into 5 areas: natural resources, cultural resources, event resources, activity

resources and, service resources. The results found that natural resources are the main resources

that attract tourists. But there are still many natural resources that are not yet known because it is

difficult to access. While the surrounding communities contribute cultural resources, event

resources, and service resources which is sufficient to meet the needs of tourists. The second part

was to assess the potential of ecotourism in Khun Sathan National Park. Three groups of

questionnaires were used with 3 groups of stakeholders, namely, 32 Khun Sathan National Park

officials, 48 communities surrounding the Khun Sathan National Park, and 407 tourists. The results

of the study found that the potential of ecotourism in Khun Sathan National Park, from the

perspective of park officials and the community, which is a group of local stakeholders, was

moderate, while from the tourists' point of view which is a group of stakeholders outside the area

was great potential. Suggestions include tourism management that meets the needs of all

stakeholders under the participation process. The development of the area in the form of ecotourism

with an emphasis on recreational activities. Education learns integration, building cooperation, and

support from local academic departments and tourism network construction.

Keyword : Potentiality, Management, Ecotourism, National Park
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.นฤพนธ์ เลิศกาญจนาพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
55 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.สิริยุพา เลิศกาญจนาพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
45 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
592,180.00
   รวมจำนวนเงิน : 592,180.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
5 กุมภาพันธ์ 2564
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : การประชุมวิชาการเครือข่ายวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้ประเ
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023