การพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับการประชาสัมพันธ์เกษตรสมัยใหม่ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของจังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-001.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับการประชาสัมพันธ์เกษตรสมัยใหม่ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของจังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

การท่องเที่ยวเป็นหนึ่งกลไกในการส้รางรายได้ให้กับประเทศ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสมัยใหม่นอกจากจะเป็นการท่องเที่ยวที่สร้างรายได้แล้วยังสอดคล้องกับบริบทสังคมไทยและก่อให้เกิดการเรียนรู้อีกด้วย การวิจัยเรื่องการพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับการประชาสัมพันธ์เกษตรสมัยใหม่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ เพื่อผลิตคลิปวิดีโอสั้นประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวการเกษตรสมัยใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อพัฒนาแพลตฟอร์มต้นแบบผ่านแอปพลิเคชันที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านภูมิสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์การเกษตรสมัยใหม่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีการพัฒนาแอปพลิเคชั่นในระบบแอนดรอยด์ และผลิตสื่อวิดีโอสั้นเพื่อประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรสมัยใหม่ในจังหวัดจำนวน ๑๒ แห่ง เพื่อนำไปทดสอบการใช้งาน และสำรวจข้อมูลความพึงพอใจและข้อเสนอแนะด้วยแบบสอบถามและการประชุมกลุ่ม

ผลการทดสอบพบว่าผู้ทดลองใช้ ประกอบด้วย นักท่องเที่ยว เจ้าของสถานที่ท่องเที่ยว และผู้เชี่ยวชาญ มีความพึงพอใจและเห็นว่าแอปพลิเคชั่นนี้มีประโยชน์ต่อการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะในการปรับรูปแบบของแอปพลิเคชั่นอย่างหลากหลาย งานวิจัยนี้คาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อแนวทางการพัฒนานวัตกรรมสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสมัยใหม่ต่อไป

คำสำคัญ : แอปพลิเคชั่น , การท่องเที่ยว , ท่องเที่ยวเชิงเกษตร , เกษตรสมัยใหม่ , เชียงใหม่
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : with glycerol were prepared by solvent casting technique. The result showed that thermal stability of biocomposite films decreased, while the tensile strength and Young’s Modulus of biocomposite films increased with the increasing of microcrystalline cellulose content. Starch-based biocomposite films completely decomposed within 8 day. Development of products from waste of processing of San Pa Tong seedling was aimed to recycle approach by adding value to waste from processing of Sanpatong stick
Abstract :

Tourism is one mechanism for generating income for the country. Modern agricultural tourism is not only an income-generating tourism, but also in line with the Thai society context and creates learning Research on the development of applications for the public relations of modern agriculture for sustainable tourism of Chiang Mai Province. The objective of this research is to produce short video clips to promote tourism in modern agriculture in Chiang Mai Province. And to develop a prototype platform through an application that applies geospatial technology for the promotion of modern agriculture for sustainable tourism in Chiang Mai Province. With the development of applications in the Android system And produced short video media to publicize 12 modern agricultural tourism sites in the province to test the use. And survey data on satisfaction and recommendations with questionnaires and group meetings

The test results showed that the trial subjects consisted of tourists. Attraction owner And experts Be satisfied and see that this application is useful to support agricultural tourism. There are suggestions for adapting a variety of applications. This research is expected to be of benefit to the media innovation development approach to further promote modern agricultural tourism.

Keyword : Application, Tourism, Agro-tourism, Modern Agriculture, Chaing Mai
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร เรืองนภากุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
90 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยนานาชาติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
290,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 290,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023