การจัดการนวัตกรรมเกษตรเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-001
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การจัดการนวัตกรรมเกษตรเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

ชุดโครงการวิจัยเรื่อง การจัดการนวัตกรรมเกษตรเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนใน

พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมเชิง

นิเวศ ของผู้ประกอบการธุรกิจฟาร์มสมัยใหม่ และนักท่องเที่ยวเชิงเกษตร 2) เพื่อทราบรูปแบบของ

เกษตรสมัยใหม่ที่มีความเหมาะสมต่อการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบแอป

พลิเคชันที่มีประสิทธิภาพต่อการพัฒนาประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งได้รวบรวมข้อมูล

ในพื้นที่ด้วยหลากหลายวิธีการ เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก การสำรวจ การสังเกต และการประชุมกลุ่ม

ย่อย เป็นต้น ทั้งนี้ การจัดการนวัตกรรมเกษตรเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

ในพื้นที่ศึกษา พบว่าขึ้นอยู่กับโครงสร้างขององค์กรต่าง ๆ ในพื้นที่นั้น ๆ ซึ่งจะมีผลต่อเศรษฐกิจของ

ชุมชนท้องถิ่น ดังนั้น ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นในการที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่ ก็คือ

การเชื่อมโยงผลประโยชน์และความพอดีของกลุ่มด้านการเกษตร การพัฒนาด้านการลงทุนในพื้นที่

เพื่อการท่องเที่ยว และการเป็นทางเลือกหรือช่องทางของแหล่งรายได้ที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่นนั้น

ๆ ซึ่งทำให้เกิดความแตกต่างในการกำหนดกลยุทธ์ในการจัดการระหว่างผู้ประกอบการด้านการ

ท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่เป็นหน่วยงานภาครัฐ/ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชนและภาคประชาชนในพื้นที่อย่าง

เห็นได้ชัด แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่สำคัญก็คือความชัดเจนของนโยบายหรือการเมืองของประเทศ

นอกจากนี้ การจัดการนวัตกรรมเกษตรเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จะต้องคำนึงถึงการสร้างและ

พัฒนาเครือข่าย ตลอดจนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งที่

จะช่วยทำให้การพัฒนาดังกล่าวสำเร็จลุล่วงได้ในที่สุด โดยเฉพาะความอยู่รอดได้ของกลุ่ม

ผู้ประกอบการธุรกิจฟาร์มสมัยใหม่ในสภาวะเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ เพราะมีรายได้เสริมจากการส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว ทั้งระดับของตลาดท้องถิ่น ซึ่งจะช่วยให้มีการจำหน่ายผลผลิต

จากฟาร์มหรือสินค้าหัตถกรรมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี การทราบถึงรูปแบบของเกษตรสมัยใหม่ที่มีความ

เหมาะสมต่อการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ตลอดจนการพัฒนารูปแบบแอปพลิเคชันที่มี

ประสิทธิภาพต่อการพัฒนาประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว จะช่วยส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว

ไปสู่ความยั่งยืน ในที่สุด

คำสำคัญ : การจัดการ , นวัตกรรมเกษตร , การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Innovative Agricultural Management for Sustainable Tourism in Chiang-Mai Province, Thailand
Abstract :

This research program in title of innovative agricultural management

for sustainable tourism in Chiang Mai province, Thailand to 1) examines the factors

effecting to the perception on eco-innovativeness of modern agricultural farms

entrepreneurs and agrotourists, 2) to know the platform of modern agriculture that

appropriate to sustainable tourism management and 3) to develop the application

model on modern agricultural promotion for sustainable tourism in Chiang Mai

province. The field work combines varied sources, including in-depth interviews,

survey, observation, meeting, focus groups and so on. The management of

agricultural innovation in the case study areas was affected by restructuring in their

local economic, involving growing economic difficulties for the agricultural sector;

new investment in residential development and tourism, and growth in alternative

income sources for the local communities. There are different strategic management

between three sectors including private sector, government/ state enterprise and

communities. Anyway, all of sectors’ agrotourism initiatives were affected by a

changing national political and policy context. Furthermore, agricultural management

innovation for sustainable tourism in Chiang Mai agrotourism management from all of

stakeholder were very important to success because of these interventions assisted

the agricultural sector to survive the economic restructuring, providing

supplementary income and local markets for their farm produce and crafts.

Keyword : Management, Agricultural Innovation, Sustainable Tourism
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยนานาชาติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร เรืองนภากุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.วินิตรา ลีละพัฒนา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยนานาชาติ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในหน่วยงาน
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
100,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 100,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023