การประเมินคุณภาพและการวิเคราะห์หาปริมาณพฤกษเคมีจากข้าวสันป่าตอง รวมถึงการหาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มสารพฤกษเคมีสูง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-002.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประเมินคุณภาพและการวิเคราะห์หาปริมาณพฤกษเคมีจากข้าวสันป่าตอง รวมถึงการหาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มสารพฤกษเคมีสูง
บทคัดย่อ :

โครงการวิจัยเรื่องเรื่องการกระตุ้นการสร้างพฤกษเคมีในต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่าตองและการ

แปรรูปผลิตภัณฑ์จากพฤกษเคมีและวัสดุเหลือทิ้ง แยกการดา เนินงานออกเป็น 7 โครงการย่อย มีดังนี้ 1)

ผลของวัสดุปลูกที่มีต่อการสร้างพฤกษเคมีในต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่ าตอง 2) การประเมินคุณภาพและ

การวิเคราะห์หาปริมาณพฤกษเคมีจากข้าวสันป่ าตอง รวมถึงการหาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่

มีสารพฤกษเคมีสูง 3) การผลิตชา การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและฤทธ์ิการต้านออกซิเดชัน

จากใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่ าตอง 4) การพัฒนาสูตรอาหารจากพฤกษเคมีในต้นข้าวเหนียวสันป่ าตอง

เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยว 5) การยกระดับสินค้าและบริการในธุรกิจร้านอาหารด้วยอณูศิลปวิทยาการ:

กรณีศึกษาร้านอาหาร Medium Rare จ. เชียงใหม่ 6) การเตรียมฟิล์มแป้งมันสาปะหลังเสริมแรงด้วย

เซลลูโลสจากต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่ าตองเพื่อพัฒนาใช้ในงานบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และ

7) การเตรียมฟิ ล์มแป้งมันสาปะหลังเสริมแรงด้วยเซลลูโลสจากต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่ าตองเพื่อพัฒนา

ใช้ในงานบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ มีผลการศึกษาดังนี้

การใช้กากกาแฟเป็นวัสดุปลูก การศึกษาครั้งนี้กากกาแฟเหลือใช้ถูกนา มาทดสอบเพื่อใช้สาหรับ

เป็นวัสดุเพาะกล้าสา หรับการผลิตต้นอ่อนข้าวเหนียวสันป่ าตอง โดยเมล็ดข้าวเหนียวสันป่ าตองถูกนา ไป

เพาะบนวัสดุเพาะกล้าที่มีส่วนผสมของกากกาแฟร้อยละ 0 10 20 30 40 และ 50 ผลการศึกษาพบว่า

ปริมาณคลอโรฟิลล์ ฟีนอลิกและกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระ ที่เพาะด้วยวัสดุที่มีส่วนผสมของกาก

กาแฟในทุกระดับส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของปริมาณคลอโรฟิ ลล์ สารประกอบฟี นอลิกและกิจกรรมการ

ต้านอนุมูลอิสระแต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติกับสิ่งทดลองควบคุม

สาหรับการประเมินคุณภาพและการวิเคราะห์หาปริมาณพฤกษเคมีจากข้าวสันป่าตอง พบว่าสาร

สกัดน้า ต้นกล้าข้าวสันป่ าตองที่สกัดด้วยอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส โดยภาพรวมมีปริมาณสารสาคัญ

ทางพฤษเคมีและความสามารถในการต้านสารอนุมูลอิสระสูงที่สุด (ถ้าไม่เทียบเท่า) ที่ระดับนัยสาคัญ

0.05 นอกจากนั้นทา การตรวจวัดเชื้อจุลินทรีย์โคลิฟอร์มในสารสกัดต้นกล้าข้าวสันป่ าตอง เพื่อประเมิน

อายุการเก็บรักษา พบว่ามีเชื้อจุลินทรีย์ในสารสกัด ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคและการเพิ่มอายุ

การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ อาจจา เป็นต้องมีการเพิ่มขั้นตอนกระบวนการฆ่าเชื้อในสารสกัดก่อนเข้าสู่การ

ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเชิงหน้าที่ต่อไป โดยสามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบเครื่องดื่มเชิงหน้าที่

ได้เป็นสามแบบ คือ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเครื่องดื่มเชิงหน้าที่พร้อมดื่ม (tea drink) ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

เครื่องดื่มเชิงหน้าที่พร้อมชงชนิดผง (tea powder) และผลิตภัณฑ์ต้นแบบเครื่องดื่มเชิงหน้าที่พร้อมชง

ชนิดใบ (loose leaf tea)ผลการศึกษาการผลิตชา การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและฤทธ์ิการต้านออกซิเดชัน

งานวิจัยนี้ใช้ใบอ่อนต้นข้าวเหนียวสันป่ าตองระยะ 9 วัน มาผลิตได้ชาที่มีสีเขียวอ่อนมีกลิ่นหอม โดยการ

อบใบสดที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 60 นาที อุดมไปด้วยสารพฤกษเคมีซึ่งเหมาะสาหรับใช้

ในการผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ โดยจากการสกัดด้วยน้า ร้อนอัตราส่วน 5:100 น้า หนักต่อปริมาตร ตรวจ

พบสารพฤกษเคมี ได้แก่ น้า ตาลรีดิวซ์ ซาโปนิน ฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปี นอยด์ มีปริมาณฟี นิลิกรวม

2.16 – 2.97 มิลลิกรัมแกลลิกต่อกรัมสารสกัดหยาบ ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระที่วิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH

มีร้อยละของการยับยั้งเป็น 3.18 และวิเคราะห์ด้วยวิธีการหาค่า FRAP มีค่า 267 ไมโครโมลต่อกรัมของ

ตัวอย่าง

ผลการพัฒนาสูตรอาหารจากพฤกษเคมีในต้นข้าวเหนียวสันป่าตองเพื่อให้บริการนักท่องเที่ยว

พบว่า จากการพัฒนาสูตรอาหารทา ให้ได้เมนูอาหารจากพฤกษเคมีในต้นข้าวเหนียวสันป่ าตอง และตา รับ

อาหารจากพฤกษเคมีในต้นข้าวเหนียวสันป่ าตอง รวมทั้งสิ้น 25 เมนู โดยจา แนกประเภทสูตรอาหาร

ออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 สา รับเบเกอรี่ ประกอบด้วย เมนูเอแคร์ผงใบข้าว คุกกี้ผงใบข้าว ขนมเปี๊ ยะ

กุหลาบไส้ใบข้าว ขนมเปี๊ยะลาวา ขนมปังผงใบข้าว เต้าฮวยผงใบข้าว ทาร์ตไข่ เค้กกล้วยหอมผงใบข้าว

มาการองผงใบข้าว วาฟเฟิล เครป เค้กกะทิ Upside down เค้กลูกตาลผงใบข้าว กลีบลาดวนผงใบข้าว เค้ก

ผงใบข้าวมะพร้าวอ่อน เค้กผงใบข้าวครีมเนยสด และคัสตาร์ดผงใบข้าว กลุ่มที่ 2 สารับอาหารคาว

ประกอบด้วย เมนูไส้อั่ว และแกงเขียวหวาน กลุ่มที่ 3 สารับขนมไทย ประกอบด้วยเมนูลอดช่องไทยผง

ใบข้าว บัวลอย ขนมไข่นกกระทา มะกรูดลอยแก้ว สังขยา และขนมถ้วยฟู นอกจากนี้ คุณค่าทาง

สารอาหารของเมนูอาหารจากพฤกษเคมีในต้นข้าวเหนียวสันป่าตองในแต่ละเมนูให้ปริมาณสารอาหารที่

แตกต่างกันไปตามสัดส่วนของวัตถุดิบ และปริมาณการผลิตในแต่ละสูตรต่อครั้ง

โครงการวิจัยเรื่อง การยกระดับสินค้าและบริการในธุรกิจร้านอาหารด้วยอณูศิลปวิทยาการ:

กรณีศึกษาร้านอาหาร Medium Rare จ. เชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ

ระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักพัฒนาการท่องเที่ยว ผู้เชี่ยวชาญด้านการปรุงอาหารและนักออกแบบบรรจุ

ภัณฑ์ ได้ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรมการปรุงประกอบอาหารขั้นพื้นฐาน Basic Cookery ซึ่งเป็ น

การบูรณาการองค์ความรู้และนวัตกรรมเข้ากับศาสตร์การประกอบอาหาร เป็นฐานปฏิบัติการทาง

การศึกษาในการสร้างนวัตกรรมการแปรรูปอาหารเพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้ภาคบริการ สา หรับผลการ

วิเคราะห์สารอาหารของตา รับอาหารเชิงนวัตกรรมและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสา หรับกลุ่ม

ผู้ป่ วย ผู้สูงอายุ และผู้บริโภคที่ต้องการเปิ ดประสบการณ์ในการรับประทานอาหารเชิงสร้างสรรค์ อยู่ใน

ระดับระดับสูง และร้าน Medium Rare สามารถนาเสนอเป็นตารับอาหารต้านอนุมูลอิสระ หรืออาหาร

ส่งเสริมสุขภาพเพื่อเป็นการสร้างมูลค่าโดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การจัดตกแต่งเป็นชุดอาหาร (Set Menu) และจัดเสิร์ฟให้เหมาะสม เป็นสินค้าและบริการที่มีคุณภาพเพื่อส่งมอบ

ให้กับผู้บริโภค

สาหรับการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่ า

ตอง งานวิจัยนี้ได้ทา การเตรียมฟิ ล์มไบโอคอมพอสิตจากแป้งมันสา ปะหลังที่เสริมแรงด้วยไมโครคริสตัล

ลีนเซลลูโลสจากต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่ าตองที่ปริมาณร้อยละ 0 ถึง 60โดยน้า หนักของแป้ง ด้วยเทคนิค

การหล่อขึ้นรูปโดยใช้ตัวทา ละลาย โดยมีกลีเซอรอลเป็ นสารพลาสติไซเซอร์ ผลการทดสอบพบว่า

ฟิล์มไบโอคอมพอสิตที่เตรียมได้มีค่าเสถียรภาพทางความร้อนลดลง แต่ฟิล์มมีค่าความทนแรงดึงและค่า

มอดุลัสเพิ่มสูงขึ้นตามปริมาณการเพิ่มขึ้นของไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส นอกจากนี้ยังพบว่าฟิ ล์มไบโอ

คอมพอสิตสามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้อย่างสมบูรณ์ภายในระยะเวลา 8 วัน

ส่วนการเตรียมฟิล์มแป้งมันสาปะหลังเสริมแรงด้วยเซลลูโลสจากต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่าตอง

เพื่อพัฒนาใช้ในงานบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ การศึกษานี้ให้ความสาคัญกับ R : Recycle ซึ่ง

เป็นการนา สิ่งของที่ใช้ประโยชน์ในรูปแบบเดิมไม่ได้ซึ่งก็คือ เศษใบข้าวเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้า

ข้าวเหนียวสันป่ าตอง โดยการนา มาเป็นส่วนผสมในการผลิตภาชนะชั่วคราวจากโฟมแป้งขึ้นรูปด้วย

วิธีการกดอัดทางความร้อน ผลิตเป็นภาชนะชั่วคราวที่มีน้า หนักเบา ซึ่งความหนาแน่นไม่ขึ้นกับปริมาณ

ของเศษใบข้าวเหลือทิ้ง และมีความต้านทานแรงดัด 3.2–3.5 เมกกะปาสคาล ซึ่งยังคงต่า กว่าภาชนะ

ชั่วคราวที่มีขายในท้องตลาดปัจจุบัน (4.18 ? 0.45 เมกกะปาสคาล) การเคลือบผิวหน้าภาชนะชั่วคราว

ด้วยพอลิแลคติดแอซิดช่วยลดอัตราการซึมผ่านของน้า เข้าสู่ชิ้นงานได้

คาสาคัญ : ต้นอ่อนข้าวเหนียวสันป่ าตอง สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพ อาหารส่งเสริมสุขภาพ อณูศิลปวิทยา

การอาหาร อณูการปรุงประกอบอาหาร เศษใบข้าวเหลือทิ้งจากการแปรรูปต้นกล้าข้าวเหนียวสันป่าตอง

ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส ฟิ ล์มไบโอคอมพอสิต การย่อยสลายทางชีวภาพ ภาชนะชั่วคราว

คำสำคัญ : ข้าวสันป่าตอง พฤกษเคมี เครื่องดื่มเชิงหน้าที่ ความสามารถในการต้านออกซิเดชัน การหาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Evaluation and Quantitation of Phytochemicals in San Pa Tong Rice and Stability Determination of Phytochemical-rich Rice Products
Abstract :

The project of Elicitation of Phytochemical Synthesis in San Pa Tong Rice Variety and Rice

Phytochemical and Waste Production is divided into 7 sub-project as 1) Effect of substrate on

phytochemical synthesis in San Pa Tong rice variety 2) Evaluation and quantitation of phytochemicals

in San Pa Tong rice and stability determination of rice phytochemical-rich products 3) Production of tea,

phytochemical constituents and antioxidant activities investigation from San Pa Tong variety leaves 4)

Development of phytochemicals San Pa Tong rice product for tourists service 5) To promote tourism

product and service in restaurant business with gastronomy: A case study of Medium Rare Chiangmai

6) Preparation of San Pa Tong variety cellulose reinforced cassava starch films for biodegradable

packaging development 7) Development of products from waste of processing of San Pa Tong seedling.

The results from all studies are shown below:

Large quantities of spent coffee grounds (SCG) are generated the last decades. Their recycling

is of research interest challenge. In the present study, SCG was tested in substrate mixtures for the

production of San Pa Tong rice seedlings. Seed of San Pa Tong rice were placed in substrate mixtures

containing 0 10 20 30 40 and 50% of SCG. Results shown that total chlorophylls, phenolics and

antioxidant activity (DPPH and FRAP) increased at all level of SCG mixtures at San Pa Tong rice

seedling and higher than control, but no significant differences compared with control.

The aim of this study is to determine the phytochemical content in San Pa Tong Rice for potential

use as functional drink. The optimal temperature was determined based on the amount of phytochemical

contents (including total phenolic, protein, chlorophyll, and peroxidase) and antioxidant capacity

(analyzed using DPPH, ABTS, and FRAP assays) in the extracts. The results indicated that the rice

extract prepared at 25 ?C possessed the highest overall phytochemical contents and antioxidant capacity

(if not equal, p < 0.05) among those evaluated. The rice extracts were further tested for coliforms. The

results showed that coliform bacteria were present in the tested solutions, and therefore pasteurization

was highly recommended for the extracts to ensure the food safety and prolong the product shelf life.

The 9-day old leaves of San Pa Tong variety were used to made tea. The soft green with good

smell of young leaves tea was done by drying the fresh leaves at 80 ?c for 60 minutes which represent

potential rich sources of phytochemical compounds for a healthy food product. The phytochemical

constituents from tea extracted with hot water in ratio 5:100 w/v were contained reducing sugar, saponin,flavonoids and terpenoids. Total phenolic content showed in 2.16-2.97 mg GAE /g crude extract, whereas

the antioxidant activity exhibited in 3.81% via DPPH assays and FRAP value shown in 267 ?mol/g of

sample.

The result of the development of phytochemicals San Pa Tong rice product for tourists service

showed that there were recipes that developed from phytochemicals in Sanpatong glutinous rice 25

menus which separated into three groups; group 1: bakery menu such as ?clair, cookie, rose Thai pastry,

salted egg lava pastry, bread, soybean curd, egg tarts, banana cake, macaron, waffle, crepe, coconut milk

cake, upside down toddy palm cake, Thai shortbread cookie, coconut cake, butter cream cake, and

custard; group 2: savory dishes such as northern Thai spicy sausage, and chicken green curry; group 3:

Thai dessert such as Lod chong, rice balls in sweet coconut milk, deep fried sweet potato ball, Makrut

lime in syrup, Thai pandan custard, and streamed cup cake. Nutrient food from phytochemicals in

seedling of each menu provided different amounts of nutrients depending on the ingredients and

production quantity for each recipe per time.

The result of the research to promote tourism product and service in restaurant business with

gastronomy: a case study of Medium Rare restaurant Chiangmai were: the development of cooperation

networks between scientist, tourism developer, chef and packaging designer to design food innovation,

was resulted in Basic Cookery training course as an educational platform to create innovative agricultural

product by creating innovative recipe from young rice leaves, aroma rice powder and chlorophyll water

from rice leaves. This was in order to increase the antioxidant capacity in food recipes for the elderly,

patient and customers who want to understand new dining experience. The result of the research showed

that the recipes have high level of nutrient and antioxidant capacity. Medium Rare restaurant can

presented the recipes in set menu decoration with environmentally friendly packaging design, as an

antioxidant menu, anti-aging and health promoting food, and to create value for restaurants as high

quality product and service to deliver to consumers.

The results of preparation of San Pa Tong variety cellulose reinforced cassava starch films for

biodegradable packaging development showed that starch-based biocomposite films reinforced with 0-

60 %w/w (based on starch content) San Pa Tong sticky rice microcrystalline cellulose and plasticizedwith glycerol were prepared by solvent casting technique. The result showed that thermal stability of

biocomposite films decreased, while the tensile strength and Young’s Modulus of biocomposite films

increased with the increasing of microcrystalline cellulose content. Starch-based biocomposite films

completely decomposed within 8 day.

Development of products from waste of processing of San Pa Tong seedling was aimed to

recycle approach by adding value to waste from processing of Sanpatong sticky rice seedling. Disposable

container was made from starch foam mixed with waste from processing of Sanpatong sticky rice

seedling by compression molding method. The disposable container is light and the density does not

depend on the content of waste of rice seedling. The flexural strength of disposable container is about

3.2-3.5 MPa which is lower than that of commercial one (4.18 ? 0.45 MPa). Coating with polylactic

acid on disposable container can also reduce the water adsorption.

Keywords: San Pa Tong rice seedling, Bioactive compounds, Functional food, Molecular gastronomy,

Molecular culinary, Waste from processing of San Pa Tong rice seedling, microcrystalline cellulose,

biocomposite film, biodegradation, Disposable container

Keyword : San Pa Tong Rice; Phytochemical; Functional Drink; Antioxidant; Stability Determination
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.อนุกุล บุญเลิศ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา คงจรูญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
3 รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วศิน เจริญตัณธนกุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
12 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา นาเทเวศน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
12 ไม่ระบุ
5 เยาวนาถ นรินทร์สรศักดิ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
468,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 468,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023