บทบาทของสังกะสี และโบรอน ต่อการเปลี่ยนแปลงอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-008.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : บทบาทของสังกะสี และโบรอน ต่อการเปลี่ยนแปลงอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย
บทคัดย่อ :

ลาไยเป็นไม้ผลที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เนื่องจากสามารถปลูกทั่วประเทศและชักนาการออกดอกได้ตลอดทั้งปีโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบภาคเหนือของไทยที่มีการปลูกกันมานาน อย่างไรก็ตามการผลิตลาไยให้ได้คุณภาพดีจาเป็นต้องมีการจัดการสวนอย่างเหมาะสมและถูกต้อง เนื่องจากมีการผลิตอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีทาให้ลาไยมีลักษณะอาการผิดปกติทางสรีรวิทยาบางอย่างคือผิวเปลือกเป็นสีแดง และแข็ง ทาให้ไม่พัฒนาเป็นผลที่มีขนาดใหญ่ได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาผิวเปลือกสีแดงที่เกิดขึ้น โดยคัดเลือกต้นลาไยจากสวนเกษตรกร บ้านภูดิน อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ที่มีประวัติของการเกิดอาการผิวเปลือกสีแดง วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (completely randomized design ; CRD) โดยแบ่งการทดลองเป็น 7 กรรมวิธี ๆ ละ 5 ซ้า โดยใช้ต้นเป็นซ้า คือกรรมวิธีควบคุม 0 เปอร์เซ็นต์ โบรอน 1, 0.2 เปอร์เซ็นต์ สังกะสีกรรมวิธีควบคุม 0 เปอร์เซ็นต์ โบรอน 1, 0.2 เปอร์เซ็นต์, โบรอน+สังกะสี 0.1 เปอร์เซ็นต์ และ โบรอน+สังกะสี 0.2 เปอร์เซ็นต์ หลังการพ่นธาตุสังกะสีและโบรอน พบว่า ในเดือนแรกของการติดผลการพ่นน้าเปล่า (ต้นควบคุม) มีจานวนผลที่เหลือต่อช่อมากกว่าทุกกรรมวิธี โดยมีจานวนผล 40.08 ผลต่อช่อ มีความแตกต่างกันทางสถิติ ในด้านคุณภาพของผลพบว่าต้นที่ได้รับสังกะสี 0.1 เปอร์เซ็นต์ และโบรอน 0.2 เปอร์เซ็นต์ มีน้าหนักเนื้อ น้าหนักผลต่อช่อไม่แตกต่างกับการพ่นน้าเปล่า แต่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญกับกรรมวิธีอื่น ๆ ส่วนความกว้าง ความยาวของผล ปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ น้าหนักเปลือก และน้าหนักเมล็ด ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ อย่างไรก็ตามค่าสีผิวเปลือกของลาไยพบว่า การพ่นโบรอน0.2 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับสังกะสี ความเข้มข้น 0.2 เปอร์เซ็นต์ ทาให้ลาไยมีสีผิวเปลือกเป็นสีสว่างออกเหลืองอย่างชัดเจนเมื่อถึงระยะเก็บเกี่ยวและมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญ ส่วนการสะสมปริมาณธาตุสังกะสีและโบรอนในใบ พบว่า หลังการพ่นธาตุทั้งสองในใบมีการเพิ่มมากขึ้นกว่าค่ามาตรฐาน แสดงให้เห็นว่าการใช้สังกะสีและโบรอนทางใบสามารถดูดซึมเข้าทางใบไปเก็บสะสมและนาไปใช้ในระยะเจริญเติบโตได้อย่างเพียงพอ

คำสำคัญ : อาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย สังกะสี โบรอน คุณภาพทางกายภาพและทางเคมีของผลลำไย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Role of zinc and boron on physiological disorders change of longan peel skin
Abstract :

Longan is an important economic fruit of Thailand could grow all the country and induce on off season of flowering on the year, especially in the northern part of Thailand that has been cultivated for more than produce good quality longan yield and need to be good managed. Longan productions continuously throughout the year, result phonological stage in disorder symptoms of longan. The peel skin is red and hard, causing it to not develop into a large fruit. The aim of this study to solve the problem in disorder syndromes of longan peels skin. The experimental was completely randomized design (CRD). There were 7 treatments; control (1), 0.1, 0.2 % B (2, 3), 0.1, 0.2% Zn (4, 5), 0.1 % B + 0.1% Zn (6), 0.2% B + 0.2% Zn (7) and 5 replications. After foliar application, it was found that in the first month, control had more fruit set per bunch than another treatment (40.80 fruit) was significantly difference. Fruit quality was found that the foliar application zinc and boron had fresh and fruit weight per bunch more than another treatment was significantly difference. Whereas, the width and length of fruit, total soluble solid, peel weight, seed weight did not significant difference. However, skin color showed that boron and zinc foliar application to be clearly green and bright yellow when the harvesting stage had significantly difference. The application of B and Zn foliar sprays had more than standard values of longan leaves. It was shown that the B and Zn foliar application can be leaves absorb and acuminated to use in the enough on growth stage

Keyword : Physiological disorder syndromes of longan peel skin, Zinc, Boron, Physical and chemical fruit quality of longan
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 น.ส.วัชรินทร์ จันทวรรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร / กองบริหารงานบริการวิชาการ / งานปรับปรุงและขยายพันธุ์พืช และสัตว์
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
350,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 350,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023