การศึกษาและตรวจสอบปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกลุ่มอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-008
รหัสอ้างอิง วช. : 15807
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การศึกษาและตรวจสอบปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกลุ่มอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย
บทคัดย่อ :

การศึกษาและตรวจสอบปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอาการผิดปกติทางสรีรวิทยาของเปลือกลาไยพันธ์ดอ (Dimocarpus longan Lour. var. Daw) ที่บ้านภูดิน อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยตรวจสอบผลการให้โบรอนและสังกะสีที่ระดับความเข้มข้น (w/w) ต่างๆ ได้แก่ 0% (T1), 0.1% B (T2), 0.2% B (T3), 0.1% Zn (T4), 0.2% Zn (T5), 0.1% B + 0.1% Zn (T6) และ 0.2% B + 0.2% Zn (T7) ระหว่างระยะการเจริญเติบโตของลาไยเป็นเวลา 0, 8, 16, 24 และ 28 สัปดาห์ ตามลาดับ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของลาไยก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนแปลงในระดับโปรตีนโดยเทคนิคทางโปรติโอมิกส์ และเมทาบอไลท์โดยเทคนิคเมทาบอโลมิกส์ ได้ถูกนามาวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับการแสดงออกของอาการผิดปกติการศึกษาด้านสรีรวิทยาและสารอาหาร (โครงการย่อยที่ 1) พบว่า ในเดือนแรกของการติดผลการพ่นน้าเปล่า (ต้นควบคุม) มีจานวนผลที่เหลือต่อช่อมากกว่าทุกกรรมวิธี โดยมีจานวนผล 40.08 ผล ต่อช่อ มีความแตกต่างกันทางสถิติกับกรรมวิธีอื่นๆ ในด้านคุณภาพของผลพบว่าต้นที่ได้รับสังกะสี 0.1 เปอร์เซ็นต์ และโบรอน 0.2 เปอร์เซ็นต์ มีน้าหนักเนื้อ น้าหนักผลต่อช่อไม่แตกต่างกับการพ่นน้าเปล่า แต่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญกับกรรมวิธีอื่น ๆ ส่วนความกว้าง ความยาวของผล ปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ น้าหนักเปลือก และน้าหนักเมล็ด ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ อย่างไรก็ตามค่าสีผิวเปลือกของลาไยพบว่า การพ่นโบรอน 0.2 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับสังกะสี ความเข้มข้น 0.2 เปอร์เซ็นต์ ทาให้ลาไยมีสีผิวเปลือกเป็นสีสว่างออกเหลืองอย่างชัดเจน เมื่อถึงระยะเก็บเกี่ยวและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ส่วนการสะสมปริมาณธาตุสังกะสีและโบรอนในใบ พบว่า หลังการพ่นธาตุทั้งสองในใบมีปริมาณสังกะสีและโบรอนเพิ่มมากขึ้นกว่าค่ามาตรฐาน แสดงให้เห็นว่าการใช้สังกะสีและโบรอนทางใบสามารถดูดซึมเข้าทางใบไปเก็บสะสมและนาไปใช้ในระยะเจริญเติบโตได้อย่างเพียงพอ

การศึกษาด้านกายภาพและเคมีโครงการย่อยที่ 4) พบว่า ผลลาไยชุด T7 มีค่าน้าหนักผล ความกว้างผล ความยาวผล และเส้นผ่านศูนย์กลางผลสูงที่สุด คือ 12.21 กรัม 3.20 ซม. 2.74 ซม. และ 2.62 ซม. ตามลาดับ ส่วนผลลาไยชุด T3 มีค่าเฉลี่ยน้าหนักผล ความกว้างผล ความยาวผล และเส้นผ่านศูนย์กลางผลต่าที่สุด คือ 9.20 กรัม 2.62 ซม. 2.40 ซม. และ 2.40 ซม. ตามลาดับ ค่าสีแดงของเปลือกผลของกลุ่มทดสอบที่ 3 มีค่าสูงสุด คือ 11.60 ส่วนค่าความสว่างของสีเปลือก (50.79-52.98) และสีเนื้อผล (35.88-38.92) ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายได้ในน้า (20.01-20.44 %Brix) ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ในรูปกรด ซิตริก (1.08-1.49 g/100g) และค่าความเป็นกรด-เบส (6.62-6.73) ของทุกกลุ่มทดสอบมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ การทดสอบประสาทสัมผัสของลาไยพันธุ์ดอ โดยประเมินจากค่าลักษณะปรากฏภายนอก สีเนื้อ รสชาติ กลิ่น ความแน่นเนื้อ และการยอมรับโดยรวมพบว่าลาไยชุด T3 มีค่าต่าที่สุด และแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับทุกกรรมวิธี

สาหรับการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการแยกโปรตีน (โครงการย่อยที่ 2) แบบ 1 มิติ (1-D gel) ของตัวอย่างโปรตีน 80 ?g ในสภาวะรีดิวซ์ ที่เจล 12.5 % ย้อมด้วย Coomassie brilliant blue R-250 พบว่าในใบมีการแสดงออกของแถบโปรตีนบนเจล ขนาดเฉลี่ย 18.60 KDa ซึ่งเป็นโปรตีน vegetative storageprotein (25.17 KDa) มีค่าลดลงในกลุ่มที่ได้รับโบรอน และสังกะสี นอกจากนี้พบว่าการแสดงออกของโปรตีนในเปลือกลาไยขนาด 25.16 kDa (vegetative storage protein) ในกลุ่มที่ได้รับสารโบรอน และสังกะสี (T7) มีค่าลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มที่มีอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลาไย (T1) ตลอด 4 เดือนหลังติดผล ซึ่งมีความสอดคล้องกับค่าสีแดง (a) ที่ลดลงของเปลือกลาไย สาหรับการศึกษาด้วยเทคนิค Western blotting ยังไม่มีความชัดเจนของผลการทดลองเนื่องจากประสบปัญหาเกี่ยวกับแอนติบอดี้ที่ใช้ ที่ต้องมีการปรับปรุงต่อไป

การวิเคราะห์ทางด้านเมแทบอไลต์ โดยเทคนิค LC-MS (โครงการย่อยที่ 3) ของใบพบว่า โครมาโทแกรมผลรวมของไอออน (TIC) ในช่วงท้ายถูกรบกวนด้วยสารจับใบและสารลดแรงตึงผิว ทาให้ไม่สามารถแปลผลได้อย่างมีความหมายภายใต้บริบทเพื่อการค้นหาสาเหตุของอาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลาไย ดังนั้นจึงได้ศึกษาตัวบ่งชี้ด้านเมแทโบไลต์ที่สกัดจากเปลือกของลาไยที่ได้รับการเสริมธาตุสังกะสี (T6) เปรียบเทียบกับเปลือกลาไยของกลุ่มที่มีความผิดปกติทางสรีรวิทยา ของเปลือกลาไย(T1) พบว่ามีสาร 2 ชนิด ที่มีปริมาณการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ (q < 0.05) ในเปลือกลาไยกลุ่ม T6 อายุ 1 เดือน หลังการติดช่อผล คือ สาร 6-(Hydroxymethyl)-2,4(1H,3H)-pteridinedione ซึ่งเป็นสารขั้นกลาง (intermediate) ในกระบวนการสร้าง folate และ ?-aminoheptanoic acid ซึ่งเป็นตัวเหนี่ยวนาให้สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านเชื้อ และพบว่ามีสาร 2 ชนิด ที่มีปริมาณลดลงคือสาร 6-methyl thiohexylhydroximoyl-glutathione และ trihomomethionine ที่สอดคล้องกับการแสดงออกที่ลดลงของ vegetative storage protein ในเปลือกและใบลาไยหลัง ที่ได้รับโบรอนและสังกะสีจากผลการศึกษาด้านโปรติโอมิกส์

คาสาคัญ: เปลือกลาไย สังกะสี โบรอน เมทาโบโลมิกส์ โปรติโอมิกส์ ความผิดปกติทาง สรีรวิทยา

คำสำคัญ : อาการความผิดปกติทางสรีรวิทยาของผิวเปลือกลำไย สังกะสี โบรอน เทคนิคโปรติโอมิกส์ เทคนิคเมทาโบโลมิกส์ คุณภาพทางกายภาพและทางเคมีของผลลำไย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The study and investigation of affected factors on physiological disorder syndromes of longan peel skin
Abstract :

The study and investigation of affected factors on physiological disorder syndromes of longan peel skin (Dimocarpus longan Lour. Var. Daw) at Ban Phu Din, Mae Taeng District, Chiang Mai Province, was investigated by using B and Zn treatments on concentrations (w/w) at 0% (T1), 0.1%B (T2), 0.2% B (T3), 0.1% Zn (T4), 0.2% Zn (T5), 0.1% B + 0.1% Zn (T6) and 0.2% B + 0.2% Zn (T7) during the growth period of longan on 0, 8, 16, 24 and 28 weeks, respectively. Physical changes on preharvest and postharvest study, protein changes on proteomics and metabolite changes on metabolomics were applied to analyze relation with disorder expression.

After foliar application, the physical and chemical properties studies (sub-project 1) were found that in the first month, control had more fruit set per bunch than another treatment (40.80 fruits) was significantly difference .Fruit quality was found that the foliar application of zinc and boron treated fruits, fresh weight had significant higher flesh weight and fruit weight per bunch compared to the control. Whereas, the width and length of fruit, total soluble solid, peel weight, seed weight did not significant difference .However, peel color showed that fruit treated with 0.29 boron and 0.2 zinc foliar application were clearly green and bright yellow when the harvesting stage and was significantly difference compared to others treatments. Application of B and Zn foliar sprays at gave higher Zn/B accumulated in the leaves which was more than the standard values of normal/control longan leaves .It was shown that the B and Zn foliar application can be leaves absorb and acuminated to use in the enough on growth stage during and development.

The physical and chemical results (sub-project 4) showed that group T7 had the maximum fruit weight, fruit size (width, length, and diameter) of 12.21 g, 3.20 cm, 2.74 cm, and 2.60 cm, respectively. On the other hand, the group T3 fruit had yielded the lowest average fruit weight and fruit size (width, length, and diameter) of 9.20 g, 2.62 cm, 2.40 cm, and 2.40 cm, respectively. The red color (a) of the peel of group T3 was the highest at 11.26. The lightness (L) of the peel (50.79-52.98) and flesh (35.88-38.92), total soluble solids (TSS) (20.01-20.44 %Brix), titratable acidity (citric) (1.08-1.49 g/100g), and pH (6.62-6.73) were not significantly different among the various treatment groups. The sensory evaluation of longan fruit found that at group 3 had the lowest sensory score of appearance, color, taste, aroma, texture and overall acceptable and significantly different among treatments.Protein separation (sub-project 2) by using one dimensional electrophoresis (1-D gel) of 80 ?g proteins in reducing sample conditions at 12.5% gel staining with Coomassie brilliant blue R-250 indicated that the 18.60 kDa of protein band in gel expression (vegetative storage protein, 25.17 kDa) was decreased in groups receiving boron and zinc foliar application Additionally, it indicated that the 20.83 kDa (vegetative storage protein) of protein band expression of longan peel was decreased in group receiving boron and zinc treatment (T7) compared to the same band from group T1 which showed the physiological disorder on the peel group of physiological disorder syndromes of longan peel skin (T1) throughout the 4 months after fruiting. This result had accordance with the decreased red value (a) of the longan peel. The results of Western blotting techniques are unclear due to problems with the antibodies being used. Therefore, further improvements are needed.

The analysis of the metabolomics of leaves (sub-project 3) by using LC-MS techniques showed that the total ion chromatogram (TIC) in terminal phase was disturbed by leaf binding agents and surfactants. Therefore, it is unable to interpret the LC-MS dataset to facilitate the search for the cause of the physiological disorder syndromes. Therefore, the study of metabolite biomarker in longan peel were conducted from metabolites from longan peels of the 0.2% w/w zinc (T6) and physiological disorders (T1). It found that 2 substances (6-(Hydroxymethyl)-2,4(1H,3H)-pteridinedione, and intermediate in folate biosynthesis and ?-aminoheptanoic acid, and inducer on immunity to resist infection) significantly increased (q <0.05) in T6 group at 1 month after fruiting. However, there were in 2 substances, 6-methyl thiohexylhydroximoyl-glutathione and trihomomethionine decreased and were consistent with the reduction of boron and vegetative storage proteins on zinc treatment in proteomic studies

Keywords: Longan peel skin, zinc, boron, metabolomics, proteomics, physiological disorders

Keyword : Physiological disorder syndromes of longan peel skin, Zinc, Boron, Proteomics technique, Metabolomics technique, Physical and chemical fruit quality of longan
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.เอกวิทย์ ตรีเนตร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
20 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
17 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ จูมวงษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
17 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา แกล้วกล้า
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 น.ส.วัชรินทร์ จันทวรรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร / กองบริหารงานบริการวิชาการ / งานปรับปรุงและขยายพันธุ์พืช และสัตว์
ผู้วิจัยร่วม
9 ไม่ระบุ
6 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา จูมวงษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
9 ไม่ระบุ
7 นายสิริวัฒน์ บุญชัยศรี
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยพะเยา
ผู้วิจัยร่วม
9 ไม่ระบุ
8 นางสาวปาริชาติ เทียนจุมพล
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัยร่วม
9 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
88,080.00
   รวมจำนวนเงิน : 88,080.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023