การอนุรักษ์พลังงานในอาคารโดยใช้กำแพงทรอมบ์ที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัสดุในการสร้างร่วมกับท่อลมแสงอาทิตย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-054
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การอนุรักษ์พลังงานในอาคารโดยใช้กำแพงทรอมบ์ที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัสดุในการสร้างร่วมกับท่อลมแสงอาทิตย์
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบ สร้าง ทดสอบสมบัติความเป็นฉนวนทางความร้อนและประเมินการประหยัดพลังงานในอาคารที่ใช้กาแพงทรอมบ์ที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ร่วมกับการใช้ท่อลมแสงอาทิตย์ โดยกาแพงทรอมบ์ที่ออกแบบสร้างมีขนาดกว้าง 0.69 m และสูง 0.91 m และมีความหนา 2.5 5 และ 10 cm ความหนาแน่นของกาแพงทรอมบ์เท่ากับ 444.44, 481.48 และ 518.52 kg/m3 ตามลาดับส่วนท่อลมแสงอาทิตย์มีขนาดความกว้าง 5 10 และ 15 cm ทาการศึกษาในอุโมงค์ความร้อนแสงอาทิตย์เทียมใน 2 กรณี คือ กรณีการใช้กาแพงทรอมบ์ และกรณีการใช้กาแพงทรอมบ์ร่วมกับการใช้ท่อลมแสงอาทิตย์ ผลการศึกษาพบว่ากาแพงทรอมบ์ หนา 10 cm มีค่าความต้านทานความร้อนสูงสุดโดยมีค่า 8.27 K/W และกรณีการใช้กาแพงทรอมบ์ร่วมกับการใช้ท่อลมแสงอาทิตย์โดยใช้กระจกและกาแพงทรอมบ์เป็นผนังด้านนอก พบว่าค่าความต้านทานความร้อนสูงสุดที่ระยะช่องของท่อลมแสงอาทิตย์เท่ากับ 15 cm โดยมีค่าเท่ากับ 18.15 K/W และ 26.41 K/W ตามลาดับ ที่อุณหภูมิอากาศภายนอกเฉลี่ย 34.2oC อุณหภูมิภายในห้องที่ใช้กาแพงทรอมบ์ หนา 10 cm มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 27.4oC ซึ่งสามารถลดการใช้พลังงานของเครื่องปรับอากาศลงได้ 0.077293 ตันความเย็น คิดเป็นค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ 1,218.75 บาท/ปี ในขณะที่การใช้กาแพงทรอมบ์ หนา 10 ร่วมกับการใช้ท่อลมแสงอาทิตย์ 15 cm อุณหภูมิภายในห้องมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.88oC ดังนั้นไม่ต้องทาการเปิดเครื่องปรับอากาศ

คำสำคัญ : กาแพงทรอมบ์ , ท่อลมแสงอาทิตย์ , ประสิทธิภาพการระบายอากาศ , สัมประสิทธิ์การนาความร้อน , ความต้านทานความร้อน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Energy efficiency in Buildings by Using Maize’s Waste Materials Trombe wall and Solar Chimney
Abstract :

The objective of this research is to design, construct, thermal insulation properties tested and assess the energy saving in a building are using maize waste Trombe Wall (TW) and Solar Chimneys (SC). The thickness of TW is 2.5 5 and 10 cm with 0.69 m wide and 0.91 m high. The density of TW is 444.44, 481.48 and 518.52 kg/m3, respectively. The distance between inside and outside wall of SC is 5, 10 and 15 cm. The study was used solar thermal tunnel to test the TW and SC in 2 case study 1) TW and 2) TW+SC. The results showed that the 10 cm TW thickness has the highest heat resistance of 8.27 K/W. The heat resistance of 15 cm distance of SC with glass and TW in outside wall (inside wall is a TW) is 18.15 K/W and 26.41 K/W respectively. 10 cm TW thickness can protect heat from outside from average outside air temperature of 34.2oC to room air temperature of 27.4oC and reduce the power consumption of the air-conditioner 0.077293 Ton of refrigeration or 1,218.75 baht/year cost saving. In case of TW+SC, the air temperature in room is 24.88oC. So, TW+SC is not need to turn on the air conditioner

Keyword : Trombe wall, Solar chimney, Ventilation efficiency, Thermal conductivity, Resistivity
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ ไชยชนะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
30 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวุฒิ ดุษฎี
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสริมสุข บัวเจริญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิกราน หอมดวง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
5 อาจารย์ ดร.วรวรรณ เพชรอุไร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023