การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชน ต้นแบบเพื่อความปลอดภัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-60-062/61-084
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชน ต้นแบบเพื่อความปลอดภัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม
บทคัดย่อ :

การผลิตสัตว์น้าเศรษฐกิจในชุมชนต้นแบบเพื่อความปลอดภัยด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม มีการบูรณาการ 4 โครงการย่อย ดังนี้ โครงการย่อยที่ 1 การผลิตสาหร่ายอาร์โรสไปร่า (สไปรูลินา) จากน้าทิ้งฟาร์มปลาดุกเพื่อผลิตอาหารปลอดภัยแก่ปลาดุกอัฟริกัน (Clarias gariepinus) และรักษาสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโต คุณค่าทางโภชนาการ สารสี ต้นทุน และคุณภาพน้า มี 2 การทดลองๆ ที่ 1 เพาะเลี้ยงอาร์โธรสไปร่าสายพันธุ์ Aspi.MJU2 ในน้าจากบ่อปลาดุก (Catfish pond water; CPW) อัตราความเข้มข้นของน้าบ่อปลาดุกตั้งแต่ 10%-100% ในห้องปฏิบัติการ พบว่า Aspi.MJU2 เพาะเลี้ยงในน้าจากบ่อปลาดุก 80%CPW อาร์โธรสไปร่าสายพันธุ์ Aspi.MJU2 มีการเจริญเติบโตมากกว่าชุดการทดลองอื่นๆ การทดลองที่ 2 วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design มี 4 ชุดการทดลองๆ ละ 3 ซ้า เพาะเลี้ยงอาร์โธรสไปร่า Aspi.MJU2 ในตู้กระจกระบบปิด ดังนี้ T1 เพาะเลี้ยง Aspi.MJU2 สูตรอาหาร Modified Zarrouk 's Medium (MZm), T2 เพาะเลี้ยงในน้าจากบ่อปลาดุก 80%CPW+NaCl+N:P:K, T3 เพาะเลี้ยงในน้าจากบ่อปลาดุก 80%CPW+NaCl และ T4 เพาะเลี้ยงในน้าจากบ่อปลาดุก 80%CPW+N:P:K เก็บข้อมูลโดยการ นับจานวนเซลล์ และคุณภาพน้าทุกๆ 5 วัน ระยะเวลา 15 วัน จากผลการทดลองสรุปได้ว่า สูตรอาหาร MZm และ สูตรอาหาร80%CPW+NaCl+N:P:K มีอัตราการเจริญเติบโตของเซลล์จาเพาะ ผลผลิตสาหร่าย โปรตีน แคโรทีนอยด์ ของ Aspi.MJU2 มากกว่าชุดการทดลองอื่น แต่สูตรอาหาร 80%CPW+NaCl+N:P:K มีต้นทุนการผลิต ดีกว่าชุดการทดลองอื่น

โครงการย่อยที่ 2 ศึกษาความเหมาะสมของการใช้ไส้ไก่เป็นวัตถุดิบในการผลิต silage เพื่อใช้เป็นอาหารในการเลี้ยงปลาดุกอัฟริกัน (Clarias gariepinus) ในขั้นตอนแรกศึกษาประสิทธิภาพของกรด citric ในความเข้มข้นที่ต่างกัน (4% 6% 8% และ 10%) ในการหมักไส้ไก่สดที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 30 วัน พบว่า การหมักไส้ไก่ด้วยกรด citric ที่ความเข้มข้น 8% และ 10% มีปริมาณโปรตีนใน silage สูงกว่าการหมักที่ความเข้มข้น 4% และ 6% อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ในการทดลองต่อมา เพื่อผลิตอาหาร silage แห้ง ใช้ silage ที่ได้จากการหมักไส้ไก่ด้วยกรดซิติก 8% ผสมกับวัตถุดิบอาหารสัตว์ ได้แก่ ราละเอียด และ กากถั่วเหลือง โดยผสมราละเอียดลงใน silage ที่ระดับ 10% 20% 30% 40% และ 50% (RB10, RB20, RB30, RB40 และ RB50 ตามลาดับ) และผสมกากถั่วเหลืองลงใน silage ที่ระดับ 20% 30% 40% และ 50% (SB20, SB30, SB40 และ SB50 ตามลาดับ) พบว่า โปรตีนและไขมันใน อาหาร silage ผสมราละเอียดลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ในทุกระดับของการผสม แต่ โปรตีนใน อาหาร silage ผสมกากถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ในทุกระดับของการผสม ในขณะที่ไขมันลดลงในทุกระดับของการผสม การทดลองสุดท้าย ใช้อาหารจากการทดลองที่สอง ที่ผสม silage กับ ราละเอียด ที่ระดับ 10% 20% 30% และ 40% (RB10, RB20, RB30 และ RB40) หรือ ผสมกากถั่วเหลือง ที่ระดับ 20% 30% 40% และ 50% (SB20, SB30, SB40 และ SB50) โดยใช้อาหารสาเร็จรูปปลาดุกเป็นอาหารควบคุม เลี้ยงปลาดุกอัฟริกัน จานวน 3 ซ้า ซ้าละ 30 ตัว (น้าหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 16.05 ก.) ระยะเวลา 60 วัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า ปลาดุกอัฟริกันที่เลี้ยงด้วยอาหาร ควบคุมมีน้าหนักเพิ่ม อัตราการเจริญเติบโตจาเพาะ (SGR) สูงกว่า และ อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (FCR) ต่ากว่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เปรียบเทียบกับปลาที่เลี้ยงด้วยอาหาร silage ผสม ราละเอียดทุกระดับ (RB10, RB20, RB30 และ RB40) และ อาหาร silage ผสมกากถั่วเหลืองบางระดับ ได้แก่ SB30, SB40 และ SB50 ตามลาดับ (p<0.05) แต่ไม่แตกต่างกับปลาที่เลี้ยงด้วยอาหาร SB20 (p>0.05) อัตรารอดของปลาในการทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p>0.05) ระดับโปรตีนในเนื้อปลาเมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่ได้รับผลกระทบจากอาหารทดลอง (p>0.05) แต่ระดับไขมันในเนื้อปลาที่เลี้ยงด้วยอาหาร silage ผสมกากถั่วเหลืองทุกระดับ (SB20, SB30, SB40 และ SB50) มีค่าต่ากว่าปลาที่เลี้ยงด้วยอาหารสูตรอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) จากการทดลองสรุปได้ว่า สามารถใช้กากถั่วเหลืองผสม silage ได้ไม่เกิน 20% ในการผลิตอาหารเลี้ยงปลาดุกอัฟริกัน (Clarias gariepinus) โดยไม่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีในเนื้อปลา เมื่อเทียบกับอาหารควบคุม

โครงการย่อยที่ 3 การศึกษาความหลากหลายและจาแนกชนิดไส้เดือนน้าจืดในประเทศไทยจาก 2 แหล่งที่มา คือ ร้านขายไส้เดือนน้าจืดในเขตภาคกลางและลาเหมืองสาธารณะในเขตตาบลแม่แฝก อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่โดยลักษณะทางภายนอก พบว่า ไส้เดือนน้าจืดที่มีแหล่งที่มาจากภาคกลางจาแนกได้ 4 วงศ์ 5 สกุล คือ Tubifex sp. (Tubificidae) คิดเป็นร้อยละ 38.64 รองลงมาคือ Nais sp. (Naididae) คิดเป็นร้อยละ 30.85, Aeolosoma sp. (Aeolosomatidae) คิดเป็นร้อยละ 22.55, Branchiura sowerbyi (Tubificidae) คิดเป็นร้อยละ 4.86 และ Haplotaxis sp. (Haplotaxidae) คิดเป็นร้อยละ 3.10 ซึ่งมากกว่าไส้เดือนน้าจืดที่มีแหล่งที่มาจากจังหวัดเชียงใหม่ที่มี 3 วงศ์ 3 สกุล คือ Aeolosoma sp. (Aeolosomatidae) คิดเป็นร้อยละ 85.81 รองลงมาคือ Branchiura sowerbyi (Tubificidae) คิดเป็นร้อยละ 11.23 และ Nais sp. (Naididae) คิดเป็นร้อยละ 2.96การศึกษาอาหารที่เหมาะสมที่ใช้เลี้ยงไส้เดือนน้าจืดด้วยอาหารทดลอง 4 ชุดการทดลองๆ ละ 3 ซ้า คือ เนื้อปลาบดละเอียด เศษผักที่เน่าเปื่อย ยีสต์ และเจลลี่ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ทาการชั่งน้าหนักรวมของไส้เดือนน้าจืดทุกสัปดาห์ เพื่อดูการเจริญเติบโตทางด้านน้าหนักของไส้เดือนน้าจืด สรุปได้ว่า ไส้เดือนน้าจืดที่เลี้ยงด้วยยีสต์มีแนวโน้มการเจริญเติบโตดีที่สุดแม้ว่าจะมีน้าหนักลดลงเรื่อยๆ แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติระหว่างไส้เดือนน้าจืดที่เลี้ยงด้วยเศษผักที่เน่าเปื่อยและยีสต์ (p>0.05) แต่เมื่อทาการทดลองใหม่โดยทาการชั่งน้าหนักรวมของไส้เดือนน้าจืดก่อนและสิ้นสุดการทดลอง พบว่า ไส้เดือนน้าจืดที่เลี้ยงด้วยยีสต์มีแนวโน้มการเจริญเติบโตดีที่สุดและมีน้าหนักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับไส้เดือนน้าจืดที่เลี้ยงด้วยเศษผักที่เน่าเปื่อย (p>0.05) แต่มีน้าหนักมากกว่าไส้เดือนน้าจืดที่เลี้ยงด้วยเจลลี่อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05)

การศึกษาความเป็นไปได้ในการนาไส้เดือนน้าจืดมากาจัดของเสียที่พื้นก้นบ่อเลี้ยงปลาภายใต้เงื่อนไขระบบการเลี้ยงสัตว์น้าที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยทดลองเลี้ยงปลาดุกร่วมกับไส้เดือนน้าจืดในปริมาณที่แตกต่างกัน 4 ชุดการทดลองๆ ละ 3 ซ้า ทดลองเป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า สามารถนาไส้เดือนน้าจืดมาเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการกาจัดของเสียที่พื้นก้นบ่อเลี้ยงปลา เนื่องจากปริมาณสารอินทรีย์รวมในดินและแอมโมเนียในน้าระหว่างการเลี้ยงปลาดุกร่วมกับไส้เดือนน้าจืดลดลงแตกต่างจากการเลี้ยงปลาดุกเพียงอย่างเดียวอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05)

โครงการที่ 4 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฟิชฟิงเกอร์และฟิชเบอร์เกอร์แช่เยือกแข็งจากปลาดุกรัสเซีย (Clarias gariepinus) งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของการล้างน้าเนื้อปลาบดต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพในระหว่างการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ฟิชฟิงเกอร์และฟิชเบอร์เกอร์แช่เยือกแข็งที่ -18 องศาเซลเซียสเป็นเวลานาน 5 เดือน สุ่มตัวอย่างมาตรวจที่ 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เดือน พบว่า การล้างน้าเนื้อปลาดุกรัสเซียทาให้มีองค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ ปริมาณความชื้น ไขมัน โปรตีนและเถ้าลดลง (p<0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าเนื้อปลาดุกรัสเซียที่ผ่านการล้างน้ามี pH และค่า TBAR ลดลง ส่วนปริมาณโปรตีนที่สามารถละลายได้หรือไมโอไฟบริลลาโปรตีนมีค่าเพิ่มขึ้น (p<0.05) ผลิตภัณฑ์ฟิชฟิงเกอร์ที่ได้จากเนื้อปลาดุกรัสเซียที่ได้มีคุณค่าทางโภชนาการที่ดี โดยมีความชื้น ไขมัน โปรตีนและเถ้าอยู่ในช่วงร้อยละ 40.84-43.88, 32.45-35.67, 12.84-13.53 และ 1.42-1.74 ตามลาดับ เมื่อระยะเวลาในการเก็บรักษาโดยการแช่เยือกแข็ง (-18 o C) เพิ่มขึ้น พบว่าปริมาณโปรตีนที่สามารถละลายได้มีแนวโน้มลดลง ในทางตรงกันข้ามค่า TBARS จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การล้างน้าเนื้อปลาบดสามารถช่วยชะลอการลดลงของโปรตีนที่สามารถละลายได้ และชะลอการเพิ่มขึ้นของค่า TBARS ดังนั้นการล้างน้าเนื้อปลาดุกรัสเซียสามารถช่วยรักษาคุณภาพการเก็บรักษาของฟิชฟิงเกอร์แช่เยือกแข็งได้

คำสำคัญ : ปลาดุกรัสเชีย น้าจากบ่อปลาดุก เพาะเลี้ยงอาร์โธรสไปร่า ไส้ไก่ , กรด citric , ชนิดไส้เดือนน้าจืด เลี้ยงไส้เดือนน้าจืด ฟิชฟิงเกอร์ และฟิชเบอร์เกอร์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Production of economic aquatic animal in prototype community for food safety and environment
Abstract :

Production of economic aquatic animal in prototype community for food safety to Clarias gariepinu and environment, the four sub-projects had integrated as follows: Project 1 : The research aimed to compare growth, nutrition values, pigments and water quality. There were two experimental trials: Experiment 1: the cultures of Aspi.MJU2 in the catfish pond water (CPW), the concentrations of CPW ranged 10%-100% at the laboratory. It can be concluded that the cultivation of Aspi.MJU2 in the 80%CPW had better growth (Cell count) of Aspi.MJU2 than other treatments. Experiment 2: The CRD was applied, there were four treatments, with 3 replications, Algae were cultured in the closed glass cabinets: T1 Aspi.MJU2 cultured in MZm, T2 Aspi.MJU2 cultured in the catfish pond water (80%CPW+NaCl+N:P:K), T3 Aspi. MJU2 cultured in 80%CPW+NaCl and T4 Aspi. MJU2 cultured in 80%CPW+N:P:K. The data were collected every 5 days for a 15-day culture period. The result showed that: MZm and 80%CPW+NaCl+N:P:K provided greater growth rate of specific cells, production, protein and carotenoid better than other treatments. But 80%CPW+NaCl+N:P:K had better production costs other treatments.

Project 2 : Experiments were carried out to investigate the suitability of using chicken intestine as raw material for silage production and the effect of silage blended with rice bran or soybean meal in the diet of African catfish (Clarias gariepinus). In the first stage, to evaluate the efficiency of different concentration of citric acid to fermented chicken intestine at room temperature for 30 days. Acid silages were prepared using chicken intestine supplemented with four different concentrations (4% 6% 8% and 10%) of citric acid. After 30 days of fermentation, results indicated that protein content in silage fermented with citric acid 8% and 10% were significantly (p<0.05) higher than those fermented with 4% and 6%. In the next stage, to produce feed silage 10% 20% 30% 40% and 50% rice brand (RB10, RB20, RB30, RB40 and RB50 respectively) and 20% 30% 40% and 50% soybean meal (SB20, SB30, SB40 and SB50 respectively) were mixed in liquid silage. The results showed that protein and lipid content in feed silage significantly (p<0.05) decreased with percentage of rice brand. However, protein content in feed silage significantly (p<0.05) increased with percentage of soybean meal and vice versa, on lipid content. The last trial, nine experimental diets containing various levels of rice bran (RB10, RB20, RB30, RB40 and RB50) or soybean meal (SB20, SB30, SB40 and SB50) from second trial and a commercial catfish feed as a control diet (Control) were fed triplicate groups of 30 fish (initial weight: 16.05 g) at 5% body weight per day for 60 days. A significant higher (p<0.05) in weight gain, specific growth rate (SGR) and lower feed conversionratio (FCR) was observed in fish fed on Contr diet compared to those fed rice bran inclusion diets (RB10, RB20, RB30 and RB40) and some soybean meal inclusion diets (SB30, SB40 and SB50). However, the growth performance was similar in fish fed Contr and SB20 (p>0.05). No significant differences were detected in survival among fish fed any dietary treatments (p>0.05). The carcass protein content was similar in all treatments (p>0.05). Lipid content in fish fed soybean meal inclusion diets (SB20, SB30, SB40 and SB50) was significant lower (p<0.05). The study demonstrated that up to 20% of soybean meal could be incorporated in silage diets of Clarias gariepinus without negative effects on growth and carcass composition.

Project 3: Diversity identification of aquatic worms found in Thailand from 2 sources including pet shop in the central region and natural ditch at Sansai district, Chiang Mai province was conducted by external morphological features concluded that there are different aquatic worm species per region. Aquatic worms from central region had 4 Families 5 Genus such as 38.64% Tubifex sp. (Tubificidae), 30.85% Nais sp. (Naididae), 22.50% Aeolosoma sp. (Aeolosomatidae), 4.86% Branchiura sowerbyi (Tubificidae) and 3.10% Haplotaxis sp. (Haplotaxidae) respectively. Aquatic worms from Chiang Mai province had 3 Families 3 Genus such as 85.81% Aeolosoma sp. (Aeolosomatidae), 11.23% Branchiura sowerbyi (Tubificidae) and 2.96% Nais sp. (Naididae) respectively.

A study was conducted on a proper diet to feed aquatic worms (4 treatments, each treatments had 3 replications) using minced fish, decayed vegetable, yeasts and jellies for 4 weeks. It was concluded that aquatic worms fed with yeast had the best growth even through decline growth curve but no different fed with decayed vegetables (p>0.05). Aquatic worms fed with decayed vegetables and yeast had a higher growth rate than those fed with minced fish and jellied (p<0.05). Weight checking at aquatic worm 2 times (before and after demonstration), it was found that aquatic worm fed with yeast had the best growth and an increased growth curve but no different fed with decayed vegetables (p>0.05) and growth higher than jellied (p<0.05)

The study was conducted on the possibility of using aquatic worms to dispose of waste at the bottom of fish pond under aquaculture system with sustainable and environmentally friendly condition from culture catfish using 4 different quantities of aquatic worms (4 treatments 3 replications) for 12 weeks. It was concluded that compared with using only culture catfish (p<0.05) the additional use of aquatic worms to dispose of waste at the bottom of the pond because decreased organic matter in the soil and deceased ammonia in the water.Project 4 : Product development of fish finger and fish burger from African catfish (Clarias gariepinus). The purpose of this research was to study the effect of washing of fish mince on quality changes during storage of frozen fish finger and fish burger at -18 ? C for 5 months. The samples were determined for quality changes at 0, 1, 2, 3, 4 and 5 months. It was found that the chemical composition, i.e., moisture, fat, protein and ash contents, of washed mince decreased significantly (p <0.05). The pH and TBAR of the washed mince were decreased, while the amount of soluble protein or myofibrillar protein was increased (p <0.05). The fish finger products have good nutrition as follows:- the moisture, fat, protein and ash contents were in the ranges of 40.84-43.88, 32.45-35.67, 12.84-13.53, and 1.42-1.74 %, respectively as the storage time (at -18 ? C) increased. The soluble protein contents is likely to decrease and the TBARS value is likely to increase. Therefore, mince washing could improve keeping quality of frozen fish finger.

Keyword : Clarias gariepinus, catfish pond water, Spirulina (Arthrospira), chicken viscera, fermentation, citric acid, diversity of aquatic worms, feed aquatic worms, fish finger and fish burger
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.จงกล พรมยะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
1,206,200.00
   รวมจำนวนเงิน : 1,206,200.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023