แผ่นยางปูพื้นจากวัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-051
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : แผ่นยางปูพื้นจากวัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของวัสดุเหลือใช้จากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในยาง

ธรรมชาติวัลคาไนซ์ โดยแปรชนิดวัสดุเหลือทิ้งจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ลา ต้น เปลือก และซัง

ข้าวโพด และศึกษาอิทธิพลของปริมาณซังข้าวโพดต่อสมบัติยางวัลคาไนซ์ จากการทดลองพบว่า

ยางผสมซังข้าวโพดจะมีความทนทานต่อแรงดึง ระยะยืดเมื่อขาด ความสามารถในการคืนรูป ความ

ต้านทานการบวมพอง และความต้านทานการสึกหรอดีกว่าลาต้นและเปลือกข้าวโพด และจาก

การศึกษาอิทธิพลของปริมาณซังข้าวโพดต่อสมบัติยางวัลคาไนซ์ พบว่าค่าแรงบิดต่า สุด แรงบิด

สูงสุด และผลต่างของค่าแรงบิด มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามปริมาณซังข้าวโพด ในขณะที่ระยะเวลาที่

ยางเริ่มคงรูปและระยะเวลาในการคงรูปลดลง สมบัติเชิงกล เช่น ความแข็ง มอดูลัสที่ระยะยืด 100%

เปอร์เซ็นต์ การเสียรูปหลังการกดอัด และเปอร์เซ็นต์การดูดซับน้ามีค่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณซัง

ข้าวโพด และยางวัลคาไนซ์ที่ผสมซังข้าวโพดที่ปริมาณ 20 phr จะมีการกระจายตัวของซังข้าวโพดที่

ดี มีค่าความต้านทานแรงดึง ระยะยืดเมื่อขาด และความต้านทานการสึกหรอดีที่สุด โดยมีค่าเท่ากับ

7.4 MPa, 338 % และ 130.03 mm3 ตามลา ดับ

คำสำคัญ : ยางธรรมชาติ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ วัสดุเหลือทิ้ง ยางปูพื้น
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Eco-Rubber Flooring from Maize Waste
Abstract :

This research aims to study the influence of agricultural waste from maize on vulcanized

natural rubber (NR). Types of agricultural waste maize such as stalk, husk and cob were studied.

The effects of corncob content on properties of NR vulcanizates were also investigated. It was

found that the vulcanizates filled with corncobs had higher tensile strength, elongation at break,

elastic behavior, swelling resistance and abrasion resistance than the others. The influence of

amount of corncobs on properties of rubber vulcanizates revealed that cure characteristics in terms

of minimum and maximum torques, as well as torque difference increased with loading levels of

corncob, whereas the scorch time and cure time decreased. Mechanical properties of NR

vulcanizates in terms of hardness, 100% modulus, compression set and water uptake increased as

amount of corncob. In addition, the vulcanizate with 20 phr corncob gave the better filler dispersion

and also exhibited the best properties in tensile strength, elongation at break and abrasion resistance,

which had 7.4 MPa, 338 % and 130.03 mm3, respectively.

Keyword : natural rubber, maize, agricultural waste, rubber flooring
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.วรวรรณ เพชรอุไร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
80 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ ไชยชนะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023