การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งของอุตสาหกรรมน้ำส้มโดยการสกัดและกลั่นน้ำมันหอมระเหย สารฟีโนลิกทั้งหมด และเพคตินแบบไมโครเวพร่วม จากเปลือกและเมล็ดของส้มเขียวหวาน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-132
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งของอุตสาหกรรมน้ำส้มโดยการสกัดและกลั่นน้ำมันหอมระเหย สารฟีโนลิกทั้งหมด และเพคตินแบบไมโครเวพร่วม จากเปลือกและเมล็ดของส้มเขียวหวาน
บทคัดย่อ :

เปลือกส้มเขียวหวานเหลือทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรมน้้าผลไม้ที่อุดมไปด้วยสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าด้วยการสกัดน้้ามันหอมระเหย เพคติน และสารประกอบฟีโนลิกโดยเทคนิคไมโครเวฟร่วม ผลวิจัย พบว่า ที่ก้าลังวัตต์ 450-600 วัตต์เป็นสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้้ามันหอมระเหยด้วยเทคนิคไมโครเวฟ ซึ่งได้น้้ามันหอมระเหยจากเปลือกส้มเขียวหวานมีคุณภาพ และใช้เวลารวดเร็ว สภาวะที่เหมาะสมในการสกัดเพคตินจากเปลือกส้มเขียวหวานเหลือทิ้ง คือ ก้าลังไมโครเวฟ 450 วัตต์ เวลาที่ใช้ในการสกัด 75 วินาที อัตราส่วนผงต่อตัวท้าละลาย 1:42.5 กรัมต่อมิลลิลิตร และ pH 1 ได้ปริมาณผลผลิตเพคตินที่สกัดได้สูงสุด 17.67 เปอร์เซนต์ สุดท้ายสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารประกอบฟีโนลิกจากเปลือกส้มเขียวหวาน คือที่ก้าลังไมโครเวฟ 340 วัตต์ เวลาในการสกัด 65 วินาที และอัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว 1:35 กรัมต่อมิลลิลิตร สามารถสกัดสารประกอบฟีโนลิกจากเปลือกส้มเขียวหวานสูงสุด 35.08 มิลลิกรัม/กรัมของวัตถุดิบ งานวิจัยนี้สามารถน้าไปพัฒนากระบวนการสกัดสารส้าคัญที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเปลือกส้มเขียวหวานเพื่อน้าไปใช้ผสมในเครื่องส้าอางหรือผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคซึ่งมีประโยชน์ในด้านการเพิ่มรายได้และลดการก้าจัดของเสียในโรงงานอุตสาหกรรมน้้าผลไม้

คำสำคัญ : การสกัดโดยใช้เทคนิคไมโครเวฟร่วม , ส้มเขียวหวาน , น้้ามันหอมระเหย , เพคติน , สารประกอบฟีโนลิก
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Feasible study in product development from agricultural wastes of orange juice industries with microwave assisted extraction and distillation of essential oil, total phenolic and pectin from peels and seeds of Citus reticulate
Abstract :

Citrus reticulate Blanco peels are the main by-product of the industrial beverage of fruit processing which are rich in bioactive compounds. The objectives of this research were to increase the value of bioactive compounds from Citrus reticulate Blanco peels were consist of essential oil, pectin and total phenolic by microwave assisted extraction. The result found that microwave power at 450-600 watts was suitable for the extraction essential oils using microwave techniques with high quality of the essential oil and quick time of extraction. The highest pectin yield of 17.67% from Citrus reticulate Blanco peels was obtained at microwave power of 450 W, irradiation time of 75 s., soil-liquid ratio of 1:42.5 g/ml and pH of 1. The highest yield of total phenolic (35.08 mg/g of raw material) was received at microwave power of 340 W, irradiation time of 65 s., soil-liquid ratio of 1:35 g/ml. This research can be used to develop the process of extracting bioactive substances from tangerine peels for use in cosmetics or dietary supplements that are not harmful to consumers which is useful in increasing income and reducing waste disposal in the juice industry

Keyword : Microwave-assisted extraction, Citrus reticulate Blanco, Essential oil, Pectin, Total phenolic
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นักรบ นาคประสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
60 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรืองชัย จูวัฒนสำราญ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 ตุลาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
ฉบับที่ : ที่ 28 ฉบับที่ 10 ตุลาคม 2563
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023