การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจำแนกศักยภาพถิ่นที่ขึ้นของไม้ชมพูภูคา Bretschneidera sinensis Hemsl.ในธรรมชาติบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยภูคา จังหวัดน่าน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-098
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจำแนกศักยภาพถิ่นที่ขึ้นของไม้ชมพูภูคา Bretschneidera sinensis Hemsl.ในธรรมชาติบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยภูคา จังหวัดน่าน
บทคัดย่อ :

การศึกษาวิจัย เรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจา แนกศักยภาพถิ่น

ที่ขึ้นของต้นชมพูภูคา (Bretschneidera sinensis Hemsl.) ในธรรมชาติบริเวณอุทยานแห่งชาติ

ดอยภูคา จังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะสังคมพืชในถิ่นที่ขึ้นของต้นชมพูภูคาใน

ธรรมชาติ 2) เพื่อสร้างแบบจา ลองความสัมพันธ์ของปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและคุณสมบัติดิน

ทางเคมีบางประการกับการปรากฏของต้นชมพูภูคาในธรรมชาติ และ 3) เพื่อประยุกต์ใช้ระบบ

สารสนเทศภูมิศาสตร์จา แนกศักยภาพความเหมาะสมของถิ่นที่ขึ้นของต้นชมพูภูคาในธรรมชาติ

ผลการศึกษา พบว่า สังคมพืชที่พบต้นชมพูภูคาในธรรมชาติ บริเวณอุทยานแห่งชาติดอยภู

คา จังหวัดน่าน เป็นสังคมป่ าดิบเขา ประกอบด้วยพรรณไม้ทั้งหมด 18 วงศ์ (Families) 26 สกุล

(Genera) และ 28 ชนิดพันธุ์ (Species) พรรณไม้ที่มีดัชนีความสา คัญในสังคม 5 ลา ดับแรก ได้แก่ เต้า

เลื่อม (Macaranga denticulata) ชมพูภูคา (Bretschneidera sinensis) มะมุ่น (Elaeocarpus

braceanus) ทะโล้ (Schima wallichii) หว้าหินเฮล (Syzygium helferi) โดยมีค่าดัชนีความสา คัญ

เท่ากับ 62.25, 41.85, 25.71, 22.90 และ 16.52 % ตามลา ดับ จากการสร้างแบบจา ลองความสัมพันธ์

ของปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและคุณสมบัติดินบางประการกับการปรากฏของต้นชมพูภูคาใน

พื้นที่ด้วยวิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบเส้นตรง พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในถิ่นที่ขึ้นของต้น

ชมพูภูคา ที่ระดับความถูกต้องร้อยละ 51 ประกอบด้วย ความลาดชัน ระดับความสูง ระยะห่างจาก

แหล่งน้า ทิศด้านลาด อนุภาคดินทราย อนุภาคดินร่วน อนุภาคดินเหนียว ความเป็นกรดด่าง

อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และแคลเซียม การจา แนกศักยภาพของถิ่นที่ขึ้นของไม้ชมพูภูคาด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พบว่ามีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมาก เท่ากับ

315,532.81 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง เท่ากับ 448,798.44 ไร่ พื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อย เท่ากับ

294,029.68 ไร่

คำสำคัญ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ , ต้นชมพูภูคา , อุทยานแห่งชาติดอยภูคา
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Application of Geographic Information Systems for Bretschneidera sinensis Hemsl. Natural Potential Site Identification in Doi Phu kha National Park Nan Province
Abstract :

The objectives of the application of geographic information systems for Bretschneidera

sinensis Hemsl. Natural potential site identification in Doi Phu Kha National Park, Nan Province

are including as 1) to identify plant community characteristics of Bretschneidera sinensis Hemsl.

In natural site 2) to identify the relationship model between some physical and soil properties with

an appearance of Bretschneidera sinensis Hemsl. In natural site and 3) to apply GIS for natural

potential site identification of Bretschneidera sinensis Hemsl.

The result shows that plant community of Bretschneidera sinensis Hemsl. In Doi Phu Kha

National Park Nan province is identified as hill evergreen forest. It is consisted of plant in 18

families, 26 genus and 28 species. The most important species are Macaranga denticulate,

Bretschneidera sinensis, Elaeocarpus braceanus, Schima wallichii and Syzygium helferi at the IVI

of 62.25, 41.85, 25.71, 22.90 and 16.52 respectively. The relationship model of some physical

factors and soil properties using linear regression analysis has shown the accuracy level of 51 %.

The significant factors are including slope, aspect, elevation, distance from surface water, particle

of sand, silt, clay, soil reaction, organic matter, phosphorus, potassium, magnesium, and calcium.

The natural potential site identification for Bretschneidera sinensis Hemsl. Using GIS has shown

the high, moderately and low potential levels of 315,532.81, 448,798.44 and 294,029.68 rais

respectively.

Keyword : Geographic Information Systems (GIS), Bretschneidera sinensis Hemsl., Doi Phu Kha National Park
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ คำโย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
70 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.แหลมไทย อาษานอก
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 อาจารย์ ดร.คนิติน สมานมิตร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
287,600.00
   รวมจำนวนเงิน : 287,600.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023