ผลกระทบ การปรับตัวและความต้องการสวัสดิการของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวในพื้นที่ตำบลไผ่โทน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-61-104
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลกระทบ การปรับตัวและความต้องการสวัสดิการของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวในพื้นที่ตำบลไผ่โทน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
บทคัดย่อ :

การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบ การปรับตัว และความต้องการสวัสดิการของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวในตาบลไผ่โทน อาเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเพื่อการสัมภาษณ์ 21 ครัวเรือนตัวอย่าง ผลการศึกษา พบว่า ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแม่เลี้ยงเดี่ยว มีอายุเฉลี่ย 32 ปี สาเร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษาปีที่ 4 มีภูมิลาเนาอยู่ในตาบลไผ่โทนแต่กาเนิด แต่งงานโดยจดทะเบียนสมรส มีบุตรเฉลี่ย 3 คน สาเหตุของการเป็นครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวมาจากการหย่าร้าง แยกทาง และละทิ้ง เมื่อบุตรอายุได้ 4 ปี และไม่คิดที่จะมีคู่สมรสใหม่ ด้านเศรษฐกิจของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่ทาอาชีพการเกษตร แต่รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย จึงกู้ยืมแหล่งเงินทุนในชุมชน และต้องการความช่วยเหลือด้านค่าใช้จ่ายในการดูแลบุตร การศึกษาของบุตร ในด้านสังคมนั้นได้รับการยอมรับจากสังคมรอบข้าง ให้กาลังใจ ต้องการให้มีศูนย์รับเลี้ยงเด็กอายุตั้งแต่หนึ่งขวบครึ่งขึ้นไป ส่วนบุตรไม่มีพฤติกรรมที่เป็นปัญหานอกจากความต้องการด้านการศึกษา ในด้านสุขภาพกายเกี่ยวเนื่องจากสุขภาพจิตที่เกิดจากความเครียด เสียใจ กังวล จึงแก้ไขปัญหาโดยการพูดคุยกับญาติ พี่น้อง เพื่อนบ้าน และพึ่งพาศาสนา แต่ยังมีความต้องการบริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ ยาบารุง และบริการรับฝากครรภ์

คำสำคัญ : ผลกระทบ การปรับตัว ความต้องการสวัสดิการ ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : IMPACTS, ADAPTATION AND WELFARE NEEDS OF SINGLE-PARENT FAMILIES IN PHAI THON SUB-DISTRICT, RONG KWANG DISTRICT, PHRAE PROVINCE
Abstract :

This research aimed to find out the impact, adaptation and welfare needs of single-parent families in Phai Thon subdistrict, Rong Kwang district in Phrae province. Data gathering by the use of interview schedule of 21 household samples. The results of the study showed that majority of single-parent families in areas were single mothers, with an average age of 32 years. Married by marriage registration, having an average of three children. The economic aspect of the single-parent family mainly engaged in agriculture. But income is not enough to pay. Therefore, they borrowed funding sources in the community. Need help with child care expenses, child education In terms of society. They had been accepted by the surrounding society, encouraging the need to have a childcare center from one and a half years old. As for children, there is no problem behavior in addition to educational needs. In physical health, due to mental health that causes stress, regret, worry, then solve problems by talking to relatives, neighbors and relying on religion. But there is still a need for mobile health examination services, tonics and antenatal care services

Keyword : Impacts, Adaptation, Welfare Needs, Single-parent Families
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : สาขาสังคมวิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิกานดา ใหม่เฟย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2561)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2561
1/10/2560 ถึง 30/9/2561
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
98,700.00
   รวมจำนวนเงิน : 98,700.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
6 พฤษภาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ 
ฉบับที่ : ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023