การจัดกลุ่มลูกค้าโดยใช้วิธีการเหมืองข้อมูล

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.2-65-032
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การจัดกลุ่มลูกค้าโดยใช้วิธีการเหมืองข้อมูล
บทคัดย่อ :

ปัจจุบันธุรกิจมีการแข่งขันกันสูงและช่องทางออนไลน์เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าพฤติกรรมลูกค้าเปลี่ยนที่เปลี่ยนไปใช้ช่องทางออนไลน์ในการซื้อสินค้า ปัญหาใหม่คือ ไม่ทราบข้อมูลความต้องการของลูกค้าที่แท้จริงผ่านกระบวนการสอบถาม ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงใช้แนวคิดของพฤติกรรมการสั่งซื้อสินค้าที่ผ่านมา หลักการคือลูกค้าที่มีพฤติกรรมการซื้อที่เหมือนกันจะมีลักษณะพฤติกรรมการซื้อที่เหมือนกัน ข้อมูลการซื้อจะถูกแบ่งกลุ่มตามความเหมือนเพื่อไปสู่กระบวนการหาพฤติกรรมการซื้อสินค้าของลูกค้า และรูปแบบพฤติกรรมที่คลายกันไปใช้ในระบบแนะนำ Top-N แนะนำสินค้า การแบ่งกลุ่มพฤติกรรมใช้หลักการ k-Mean แล้วนำข้อมูลในกลุ่มมาวิเคราะห์ความถี่ในการซื้อสินค้า สินค้าไหนมีความถี่สูงจะนำมาแนะนำ Top-N การวัดประสิทธิ์ภาพการแบ่งกลุ่มใช้หลักการ F-Measure ประกอบด้วยค่า F1 คือค่าเฉลี่ย 2 ตัวแปร Precision ค่าความแม่นยำ Recall ค่าการเรียกคืน ข้อมูลจาก หจก. เอฟบีที ไลฟ์ จำนวน 287 คน 41 รายการสินค้า จำนวนรายการสั่งซื้อ 1,147 รายการ แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ส่วนคือข้อมูลสำหรับการทดสอบ และข้อมูลสำหรับสอน โดยใช้หลักการ 10-Fold Cross Validation ส่วนข้อมูลส่วนการสอนจำนวน 258 คนจะนำมาแบ่งกลุ่มโดยใช้หลักการ k-Mean โดยกำหนดค่า k = 3, 5, 7, 9, 11, และ 13 กระบวนการทดสอบใช้ข้อมูล่วนทำการทดสอบจำนวน 29 คนจะทำมาทดสอบระบบ Top-N โดยกำหนดค่า N = 5 และ 10 เรียกกว่า Top-5 และ Top-10 ตามลำดับ ผลการทดลองพบว่า k = 7 ให้ประสิทธิ์ดีสุดที่ Top-5 ให้ค่า F1 เท่ากับ 31.11%, Precision มีค่า 28%, และ Recall มีค่า 35% ใน Top-10 ให้ค่า F1 เท่ากับ 31.97%, Precision มีค่า 31%, และ Recall มีค่า 33% ตามลำดับ

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Customer Segmentation by Using Data Mining Method
Abstract :

Nowadays, the business is highly competitive. In online channels, it can be considered as another way to reach customers. Customers who are unable to live a normal life turn to online channels to make purchases. In the online channels, finding customer behavior is one of the still problems. It is hard to know the actual needs of real customers through the online purchasing process. Therefore, this research uses the concept of past purchasing behavior. The principle is that customers with the same purchasing behavior will have the same purchasing behavior. All purchased transaction were classified to the group by using the similarity of purchasing. The purchased transactions of the new customer were calculated with each group buy using Euclidean distance. The shortest distance between the purchased transactions of the new customer and ith group is defined as the target group. The information in the target group is used to recommend products to the customer. The reason that why the recommendation has very importance is there are many amount products available. As a result, it is difficult for customers to access the products they want. This research presents recommendation system by using customer segmentation. The k-Mean was used to classify the customer segmentation. The data in each group is analyzed for frequency of purchases. Which products have a higher purchase frequency are more significant. Therefore, the recommendation system uses the top-N high-frequency products to recommend to the active customer. To evaluate the recommendation system, the F-Measure method is used to measure the efficiency system. The F-Measure consists of F1, Precision, and Recall. F1 is the harmonic mean. The dataset collected from the online marketing FBT Life Limited Partnership of 287 people, 41 items, 1,147 number of transactions. The dataset is divided into training set and test set. The 10-Fold cross validation technique is to evaluate the effectiveness of the recommendation system. In the k-Mean, the number of clusters is defined as k = 3, 5, 7, 9, and 11. To test the Top-N recommendation system, N is the number of products for recommending for the active customer. The N is defined as 5 and 10. The experimental results showed that k = 7 gave the best recommendation efficiency on Top-5 with F1 value of 31.11%, Precision value of 28%, and Recall value of 35%. In Top-10, the recommendation efficiency F1, Precision, and Recall are 31.97%, 31%, and 33%, respectively.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.อุกฤษณ์ มารังค์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
70 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.จักรพงษ์ สุขพันธ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในหน่วยงาน
งบประมาณของหน่วยงาน
10,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 10,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023