เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยในการกำจัดเห็บโค

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-07-002
รหัสอ้างอิง วช. : 63A111000028
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยในการกำจัดเห็บโค
บทคัดย่อ :

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหย 6 ชนิด

ได้แก่ น้ำมันผิวส้ม น้ำมันขิง น้ำมันตะไคร้บ้าน น้ำมันตะไคร้ต้น น้ำมันกานพลู และน้ำมันขมิ้นชัน

ต่อการกำจัดเห็บโคในห้องปฏิบัติการ และเลือกน้ำมันหอมระเหย 2 ชนิดที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด

เพื่อทดสอบบนผิวหนังโค ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยตะไคร้บ้านที่

ความเข้มข้น 8% ดีที่สุดในการยับยั้งการวางไข่ของเห็บตัวเมียระยะ engorged tick รองลงมาได้แก่

น้ำมันขิง น้ำมันขมิ้นชัน น้ำมันผิวส้ม น้ำมันตะไคร้ต้น และน้ำมันการพลู ตามลำดับ แตกต่างกัน

อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นมีผลทำให้ดัชนีการออกไข่ลดลง ที่

ความเข้มข้นของน้ำมันหอมระเหย 16% จะมีผลทำให้อัตราการตายของเห็บในระยะตัวอ่อนสูงขึ้น

และที่ความเข้มข้นของน้ำมันหอมระเหย 4, 8 และ 16% ทำให้เห็บตายถึง 100% และน้ำมันหอม

ระเหยตะไคร้บ้านสามารถลดจำนวนเห็บบนตัวโคได้ตั้งแต่วันที่ 1 หลังพ่น และลดจำนวนได้นาน

อย่างน้อย 14 วัน เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม

คำสำคัญ : น้ำมันหอมระเหย เห็บ โค ประสิทธิภาพ อัตราการตาย ดัชนีการออกไข่
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of pharmaceutical product from essential oils to eliminate tick in cattle
Abstract :

The purpose of this study was to compare the efficacy of six essential oils, sour orange

(Citrus aurantium L.), ginger (Zingiber officinale Roscoe), lemongrass (Cymbopogon citratus

(DC.) Stapf.), litsea (Litsea cubeba (Lour.) Pers.) clove (Eugenia caryophyllata Thunb.), curcumin

(Curcuma longa Linn.) against cattle tick and two of the most efficiency essential oils were test on

cattle skin. The results showed that higher efficiency of 8% lemongrass essential oil was most

significant effective to inhibit the laying of female ticks in the engorged tick period, followed by

ginger oil, curcumin oil, sour orange, litsea oil and clove oil, respectively (p<0.05). And the

increased concentration of essential oil will have the effect of decreasing the oviposition index. At

a concentration of 16% essential oil, the mortality of ticks in the larva stage was found to be higher.

The essential oils 4, 8 and 16% were found 100% mortality rate of ticks. In addition, lemongrass

oil was able to reduce the number of ticks on the cattle from day 1 after spraying on cattle skin and

decreased tick number for at least 14 days compared to the control group.

Keyword : essential oil, ticks, cattle, efficiency, mortality rate, oviposition index
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นายอภิชาติ หมั่นวิชา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี / ฝ่ายงานฟาร์ม
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา ชูเกียรติศิริ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 ผศ.ดร.ภญ. สุนีย์ จันทร์สกาว
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเภสัชศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
5 รศ.ภก. ปราโมทย์ ทิพย์ดวงตา
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
350,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 350,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 มกราคม 2567
วารสารที่ตีพิมพ์ : Veterinary Integrative Sciences 
ฉบับที่ : 22(1)
หน้า : 55-63
ระดับการนำเสนอ : ระดับนานาชาติ
เจ้าของวารสาร : คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
1 มกราคม 2565
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
6 มกราคม 2566
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023