การพัฒนาโฮมสเตย์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร รองรับการท่องเที่ยววิถีไทยอย่างยั่งยืน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-004.5
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาโฮมสเตย์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร รองรับการท่องเที่ยววิถีไทยอย่างยั่งยืน
บทคัดย่อ :

กำรพัฒนำโฮมสเตย์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยำนประวัติศำสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนำลัย-

กำแพงเพชร รองรับกำรท่องเที่ยววิถีไทยอย่ำงยั่งยืน เป็นโครงกำรย่อยภำยใต้ชุดโครงกำรกำร

เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งเครือข่ำยวิสำหกิจกำรท่องเที่ยวชุมชนเพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำร

แข่งขันด้ำนมำตรฐำนและบริกำรในเขตพื้นที่พิเศษอุทยำนประวัติศำสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนำลัย-

กำ แพงเพชร มุ่งศึกษำ 1)ศักยภำพของทรัพยำกรกำรท่องเที่ยวที่สำมำรถรองรับกำรจัดกำรโฮมสเตย์

และ 2)กำรพัฒนำโฮมสเตย์ในพื้นที่พิเศษอุทยำนประวัติศำสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนำลัย-กำ แพงเพชร

รองรับกำรท่องเที่ยวิถีไทยอย่ำงยั่งยืน ผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นผู้แทนจำกบ้ำนคุกพัฒนำ จังหวัดสุโขทัย

และชุมชนนครชุม จังหวัดกำ แพงเพชร ชุมชนละ 50 คน โดยกำรสุ่มแบบเจำะจง เก็บข้อมูลด้วยกำร

จัดประชุม เสวนำ และใช้แบบสอบถำม พบว่ำ กำรวิเครำะห์ศักยภำพที่พักโฮมสเตย์ของผู้ให้ข้อมูล

บ้ำนคุกพัฒนำ ระดับมำก ค่ำเฉลี่ย 4.14 และมีกำรแสดงควำมคิดเห็นในทิศทำงเดียวกันในระดับ

ของส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน 0.77 ผู้ให้ข้อมูลของชุมชนนครชุมอยใู่ นระดับมำก ค่ำเฉลี่ย 4.11 และมี

กำรแสดงควำมคิดเห็นในทิศทำงเดียวกันในระดับของส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน 0.83 ซึ่งแสดงให้เห็น

ว่ำทั้ง 2 ชุมชนมีศักยภำพด้ำนโฮมสเตย์และกำรท่องเที่ยวชุมชนในระดับที่สำมำรถพัฒนำคุณภำพได้

โดยพัฒนำโฮมสเตย์บ้ำนคุกพัฒนำ จำนวน 14 หลังคำเรือน และโฮมสเตย์ชุมชนนครชุม จำนวน 4

หลังคำเรือน นอกจำกนี้ได้ใช้แบบสอบถำมเก็บข้อมูลควำมพึงพอใจจำกนักท่องเที่ยวที่มำใช้บริกำร

กำรท่องเที่ยวและโฮมสเตย์บ้ำนคุกพัฒนำ และชุมชนนครชุม ชุมชนละ 30 คน โดยกำรสุ่มแบบเจำะจง พบว่ำ ระดับควำมพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มำใช้บริกำรท่องเที่ยวและโฮมสเตย์บ้ำนคุก

พัฒนำ อยู่ในระดับมำก มีค่ำเฉลี่ย 3.96 และมีกำรแสดงควำมพึงพอใจในทิศทำงเดียวกันในระดับ

ของส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน 0.63 และระดับควำมพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มำใช้บริกำรท่องเที่ยว

และโฮมสเตย์ชุมชนนครชุม อยู่ในระดับมำก มีค่ำเฉลี่ย 3.79 และมีกำรแสดงควำมพึงพอใจใน

ทิศทำงเดียวกันในระดับของส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน 0.59

จำกผลกำรวิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกำรบริหำรงำนโฮมสเตย์ควรทำงำนร่วมกับ

ชมรมกำรท่องเที่ยวโดยชุมชน เนื่องจำกมีควำมเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวและรำยกำรนำเที่ยวร่วมกัน

กำรให้ควำมสำคัญกับกำรจัดกำรด้ำนควำมสะอำดของบ้ำนพักโฮมสเตย์ ควรนำ อำหำรพื้นบ้ำนมำ

เป็นรำยกำรอำหำรเฉพำะถิ่นมีควำมโดดเด่นด้วยกำรสื่อควำมหมำยคุณค่ำภูมิปัญญำ เพิ่มทักษะกำร

สื่อสำรออนไลน์และให้เยำวชนคนรุ่นใหม่มีส่วนร่วมในกำรผลิตสื่อประชำสัมพันธ์ อีกทั้งกำร

อนุรักษ์ภำษำถิ่นและเพิ่มทักษะภำษำต่ำงประเทศ สำหรับกำรพัฒนำโฮมสเตย์และกำรท่องเที่ยวสู่

สำกล

คำสำคัญ : โฮมสเตย์ พื้นที่พิเศษอุทยำนประวัติศำสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนำลัย-กำ แพงเพชร กำรท่องเที่ยวอย่ำงยั่งยืน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of Homestay in Specialized Monumental Areas of Historical Districts-Sukhothai, Si-Satchanalai, and Kamphaeng Phet, for Sustainable Thainess Tourism
Abstract :

Homestay development in Specialized Monumental Areas of Historical Districts –

Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphaeng Phet support sustainable Thainess tourism. It is a subproject

under the project of Strengthening Community-based Tourism Enterprise Networking for

Building Competitive Advantage on Tourism Standard and Hospitality in Specialized Monumental

Areas of Historical Districts-Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphaeng Phet. This research aimed

to study the following: 1) the potential of tourism resources to support homestay management and

2) the development of homestays in the Specialized Monumental Areas of Historical Districts-

Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphaeng Phet supporting sustainable tourism in the Thai way.

Fifty respondents per community representing Ban Kuk Pattana, Sukhothai province and

Nakhon Chum community, Kamphaeng Phet province were randomly selected. Data were

collected by holding meetings, discussions and using questionnaires. The study found that the

homestay potential of Ban Kuk Pattana was at high level of 4.14 with standard deviation level of

0.77 on harboring the same opinion. On the other hand, the homestay potential of Nakhon Chum

community was at a high level mean of 4.11 with standard deviation of 0.83 holding similar

opinion. This shows that both communities have the potential for homestay and community tourismat a quality level, where 14 and 4 homestay houses are developed at Ban Kuk Pattana and in Nakhon

Chum Community, respectively.

In addition, the questionnaire was used to collect data concerning tourists’ satisfaction on

availing themselves of the tourism and homestay services at Baan Kuk Pattana and Nakhon Chum

communities by randomly selecting 30 respondents per community. The study found that the

satisfaction level of tourists who availed of the tourism and homestay services at Baan Kuk Pattana

was very high, with an average of 3.96 and the level of standard deviation of 0.63 on satisfaction

was in the same direction. In the same manner, the satisfaction level of tourists who availed of the

tourism and homestay services in Nakhon Chum community was at a high level, with a mean of

3.79 and a similar level of satisfaction at a level of standard deviation at 0.59.

For recommendation, homestay houses should work collaboratively with CBT tourism

community by connecting tourism resources with travel programs. In addition, the cleanliness of

homestay houses, local food with unique local wisdom and technology should be emphasized.

Moreover, young people in the community should work closely with community to produce

promotion media. Local language and foreign languages are also have important roles in developing

homestay and tourism internationally.

Keyword : Home stay; Specialized Monumental Areas of Historical districts – Sukhothai, Si Satchanalai, and Kamphaeng Phet; Sustainable Tourism
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.อำนวยพร ใหญ่ยิ่ง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
60 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.เกษราพร ทิราวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
40 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
565,500.00
   รวมจำนวนเงิน : 565,500.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 ธันวาคม 2566
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 
ฉบับที่ : ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2566
หน้า : 40-52
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
19 พฤษภาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
19 พฤษภาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
23 ตุลาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023