การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์เข้มข้นจากหัวหอมแขก (Allium cepa var. viviparum) ในระดับกึ่งอุตสาหกรรม

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-033.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำเชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์เข้มข้นจากหัวหอมแขก (Allium cepa var. viviparum) ในระดับกึ่งอุตสาหกรรม
บทคัดย่อ :

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตน้ าเชื่อม FOS ในระดับกึ่ง

อุตสาหกรรมจากหัวหอมและศึกษาคุณสมบัติทางเคมี กายภาย และชีวภาพบางประการของ

ผลิตภัณฑ์จากกระบวนการที่พัฒนาขึ้น ผลการศึกษาพบว่าหัวหอมมีน้า ตาลเป็นองค์ประกอบคิดเป็น

ร้อยละ 7.5 โดยน้ าหนักสด หรือร้อยละ 22.8 โดยน้ าหนักแห้งและมีโอลิโกแซคคาไรด์เป็ น

องค์ประกอบ พบการปนเปื้ อนของแบคทีเรีย ยีสต์ และเชื้อราบนพื้นผิวหัวหอม แต่การเก็บรักษาที่

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส สามารถควบคุมการเจริญของจุลินทรีย์เหล่านี้ได้ โครงการได้ประสบ

ความสาเร็จในการประดิษฐ์อุปกรณ์สาหรับหน่วยล้างหัวหอม คั้นน้า หัวหอม และกรองกากน้า หัว

หอม โดยเครื่องล้างเป็ นระบบน้ าวน ล้างวัตถุดิบได้ครั้งละมากกว่า 20 กิโลกรัม และเมื่อใช้

สารละลาย sodium hypochlorite 50 ppm ร่วมในการล้างทา ให้สามารถฆ่าจุลินทรีย์ได้เกือบทั้งหมด

ภายในเวลา 4 นาที ในขณะที่เครื่องคั้นน้า หัวหอมสามารถทา งานได้ในอัตรา 8.3 กิโลกรัม/ชั่วโมง

เครื่องกรองกากหัวหอมสามารถทา งานได้ในอัตรา 6.5 ลิตร/ชั่วโมง โดยของเหลวที่ผ่านการกรองนี้

มีความใสมากขึ้นร้อยละ 80 และเมื่อใช้เครื่องระเหยระบบสุญญากาศในการระเหยน้า แล้วทา ให้ได้

ผลิตภัณฑ์น้า เชื่อมหัวหอมที่อุดมด้วยน้า ตาล FOS ตามวัตถุประสงค์ โดยน้า เชื่อมนี้ พบว่ามีความ

เข้มข้นของน้า ตาลเท่ากับ 307.2 + 13.8 mg/ml ขนาดน้า ตาลในรูป DP เท่ากับ 35 มีฤทธ์ิต้านอนุมูล

อิสระในรูปของค่า %inhibition ต่อ ABTS เท่ากับ 78.6%

คำสำคัญ : น้า เชื่อมฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ หัวหอม พรีไบโอติก อาหารฟังก์ชั่น กระบวนการผลิต
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Process development of concentrated fructooligosaccharide syrup from Hom-kaek onion (Allium cepa var. viviparum) in semi-pilot scale
Abstract :

The objectives of this research are to develop the semi-industrial production of

fructooligosaccharide syrup (FOS) from onion and study chemical, physical and some biological

properties of the developed product. Results showed that the sugar content of onion was 7.5% fresh

weight, or 22.8% dry weight, and was rich with oligosaccharides. Bacteria, yeasts and molds were

contaminated on onion’s surface, but the growth of microorganisms was controlled by cold

temperature (4?C). This project was successfully developing the equipment for cleaning, pressing,

and screening. The capacity of cleaning machine with whirlpool system was more than 20 kg/batch.

Most of microorganisms were killed in 4 minutes when sodium hypochlorite solution (50 ppm) was

associated in cleaning step. The operating rate of the pressing and screening machines was 8.3 kg/hr

and 6.5 l/hr. Clarity of onion juice was increased (80%) after screening. Onion juice was evaporated

using a vacuum evaporator to obtain fructooligosaccharide syrup. The sugar concentration of syrup

was 307.2?13.8 mg/ml, and the degree of polymerization (DP) was 35, while the antioxidant activity

(%inhibition on ABTS) was 78.6%.

Keyword : fructooligosaccharides, onion, prebiotic, functional food, processing
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
585,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 585,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
1 ตุลาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023