การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และวัสดุปลูกจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยวิธีการ หมักแบบไม่พลิกกลับกอง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-029.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และวัสดุปลูกจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยวิธีการ หมักแบบไม่พลิกกลับกอง
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้แบ่งการศึกษาออกเป็นสองส่วน คือ การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล และการผลิตไบโอชาร์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยกระบวนการสลายตัวด้วยความร้อนภายใต้สภาวะจำกัดอากาศ (เรียกว่า กระบวนการคาร์บอไนซ์) มากไปกว่านั้นยังศึกษาผลของการเติมตัวเชื่อมประสาน คือ กลีเซอรีน ต่อประสิทธิภาพการให้ความร้อนและคุณสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิงชีวมวล จากการศึกษาในส่วนที่หนึ่งพบว่าเมื่ออุณหภูมิในการสลายตัวเพิ่มสูงขึ้นจาก 300 ?C เป็น 500 ?C เชื้อเพลิงชีวมวลมีคุณสมบัติทางกายภาพดีขึ้นซึ่งแสดงในรูปของค่าดัชนีการแตกร่วนและค่าความทนทานที่เพิ่มขึ้นสอดคล้องกับค่าความแน่นที่เพิ่มมากขึ้น ส่วนผลการเติมกลีเซอรีนต่อคุณสมบัติทางกายภาพนั้นมีแนวโน้มเหมือนกับผลของการเพิ่มอุณหภูมิการสลายตัว สำหรับการศึกษาในส่วนที่สองพบว่าไบโอชาร์ที่ผลิตได้มีค่าความเป็นกรดด่างและความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนบวกสูงกว่าดิน อีกทั้งบนพื้นผิวไบโอชาร์ยังพบหมู่ฟังก์ชันที่มีธาตุออกซิเจนปรากฏอยู่ ได้แก่ หมู่ไฮดรอกซิล (O-H stretching) หมู่คาร์บอกซิลิก (C=O stretching ) กลุ่มฟี นอลิก (O-H bending) และหมู่อีเทอร์ กับโครงสร้างอะโรมาติก แสดงให้เห็นว่าไบโอชาร์สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานด้านการปรับปรุงดินและการตรึงธาตุอาหารที่พืชต้องการได้

คำสำคัญ : เชื้อเพลิงชีวมวล ไบโอชาร์ เศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Biomass Fuel and Biochar Production from Agricultural Residues
Abstract :

This study was classified into 2 part: the production of biomass fuel and the production of biochar from agricultural residue by using thermal decomposition process under anaerobic condition (known as carbonization). In addition, the effect of added glycerine on thermal and physical properties was also investigated. For biomass fuel production section, it was found that when the decomposed temperature increased the biomass fuel gave a better physical property in term of a higher shatter index and durability corresponding to the increase in densification. The effect of added glycerine, it was also shown a similar trend to decomposed temperature effect. For the biochar production section, it demonstrated that the produced biochar had a higher pH value and a higher cationic exchange capacity (CEC) than soil indicating that biochar can apply for soil amendment and essential nutrient retention.

Keyword : Biomass fuel; Biochar; agricultural residue
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.แสนวสันต์ ยอดคำ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
75 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรี อินธนู
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
25 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
278,630.00
   รวมจำนวนเงิน : 278,630.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
13 กรกฎาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
24 มีนาคม 2565
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023