การผลิตลูกโคเนื้อคุณภาพสูงจากแม่โคนมคัดทิ้งด้วยเทคนิคการผสมเทียมแบบกำหนดเวลา

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-028
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การผลิตลูกโคเนื้อคุณภาพสูงจากแม่โคนมคัดทิ้งด้วยเทคนิคการผสมเทียมแบบกำหนดเวลา
บทคัดย่อ :

การผลิตโคเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น ความสาเร็จของการผสมพันธุ์เป็นปัจจัยหนึ่ง ที่บ่งชี้ประสิทธิภาพของการผลิตปัจจุบันนิยมใช้การเหนี่ยวนาการเป็นสัด โดยใช้ฮอร์โมนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผสมพันธุ์ โดยเทคโนโลยีเหนี่ยวนาการเป็นสัด จะช่วยเพิ่มอัตราการจับสัด และอัตราการผสมติดมากขึ้น วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาขบวนการการผลิตลูกโคเนื้อต้นน้าคุณภาพสูงจากแม่โคนมคัดทิ้งด้วยเทคโนโลยีการกาหนดเวลาผสมเทียม จากการนาเทคโนโลยีการกาหนดเวลาผสมเทียมมาช่วยแก้ปัญหาด้านการสืบพันธุ์ใหม่ให้แก่แม่โคนมทาการแบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่มประกอบด้วยกลุ่มที่ 1. กลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มโคที่ไม่ได้รับการเหนี่ยวนาการเป็นสัดแต่จะได้รับการผสมเทียมเมื่อเกษตรกรมีการแจ้งการเป็นสัดแก่เจ้าหน้าที่ผสมเทียมในท้องที่จานวน 100 ตัวและกลุ่มที่ 2. กลุ่มแม่โคที่ได้รับการเหนี่ยวนาการเป็นสัดและกาหนดเวลาผสมเทียมจานวน 200 ตัว แม่โคทั้ง 2 กลุ่ม ได้รับการตรวจการตั้งท้องหลังการผสมเทียม 60 วัน โดยการล้วงตรวจผ่านทางทวารหนักพบว่า แม่โคกลุ่มที่ได้รับการเหนี่ยวนาการเป็นสัดและกาหนดเวลาผสมเทียมมีอัตราการตั้งท้องสูงกว่าที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 โดยอัตราการตั้งท้องของแม่โคกลุ่มที่ได้รับการเหนี่ยวนาการเป็นสัดและกาหนดเวลาผสมเทียมมีอัตราการตั้งท้อง 43% (n=86/200) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมมีอัตราการตั้งท้อง 30% (n=30/100)

คำสำคัญ : โคนมคัดทิ้ง , กาหนดเวลาผสมเทียม , เนื้อโคคุณภาพ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Production of High-Quality Calves from Culled Dairy Cows by Fixed Time Artificial Insemination
Abstract :

The production of cattle for maximum efficiency, the success of breeding was one factor that indicates the efficiency of production. Induction estrus by using hormones to increase breeding efficiency to increase pregnancy. Objective of the research was to develop high quality upstream calf production from dairy cows, using fixed time artificial insemination technology to solve the reproductive problems for dairy cows. The experimental group was divided into 2 group consisting of Group 1 (the control group) was a group of cows that had not been induced by estrus but would receive artificial insemination when the farmers reported the proportion to the artificial insemination staff (n=100) and Group 2 the cows using fixed time artificial insemination staff (n=200). Both group of cows were examined for pregnancy after 60 days of artificial insemination by anal examination. Cows were using fixed time and artificial insemination was higher at the significance level 0.05. It was found that conception rates of the cows that using fixed time and artificial insemination were 43% (n=86/200) when compared with the control group, with a 30% pregnancy rate. (n=30/100)

Keyword : Culled dairy Cows, Fixed Time A.I., Quality Beef
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
70 ไม่ระบุ
2 น.สพ.ศร ธีปฏิมากร
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : สำนักงานปศุศัตว์จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัยร่วม
30 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
1,195,950.00
   รวมจำนวนเงิน : 1,195,950.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
1 มกราคม 2565
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023