การสร้างนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษแก่ชาวนาข้าวอินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวอินทรีย์ ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-026.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การสร้างนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษแก่ชาวนาข้าวอินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวอินทรีย์ ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

งานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อสารวจความต้องการเรียนภาษาอังกฤษของผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ เกษตรอาเภอ ผู้ประกอบการข้าว พ่อค้าและแม่ค้าที่ขายขนมไทยและสินค้าแปรรูปจากข้าวไทย เพื่อออกแบบบทเรียนให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนในการใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์จริง ประชากรในการวิจัยนี้คือชาวนาผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ เกษตรอาเภอ ผู้ประกอบการข้าว กลุ่มแม่บ้าน พ่อค้าและแม่ค้าที่ขายขนมไทยและสินค้าแปรรูปจากข้าวไทย ณ ตาบลลวงเหนือ อ. ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) จานวน 52 คน จากประชากรดังกล่าว เครื่องมือสาหรับการวิจัยได้แก่แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้จากแบบสารวจความต้องการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ความถี่ และ ร้อยละ รวมถึงค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ โดยการวิเคราะห์เนื้อหาด้วยโปรแกรม Hyper Research 2.8 ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าประชากรส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 50 -65 ปี ต้องการพัฒนาทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษด้านการฟังและการพูด รวมถึงมีความต้องการเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหัวข้อที่เกี่ยวกับท้องถิ่น เช่น ขนมไทยจากข้าว และสินค้าแปรรูปจากข้าว รวมถึงภาษาอังกฤษสาหรับการสื่อสารเพื่อขายสินค้าดังกล่าวในตลาดท้องถิ่น ผู้วิจัยพบว่าแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารคือแรงจูงใจเชิงเครื่องมือ (Instrumental Motivation) ผู้ตอบแบบสอบถามและกลุ่มตัวอย่างที่ให้สัมภาษณ์กล่าวว่าความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษช่วยสร้างรายได้และทาให้มีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ผลจากงานวิจัยนี้ที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ความต้องการเรียนภาษาอังกฤษได้นาไปออกแบบบทเรียนภาษาอังกฤษและแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นนวัตกรรมการเรียนภาษาอังกฤษอีกรูปแบบหนึ่งที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ข้าวอินทรีย์อันเกิดจากความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ที่ช่วยการเพิ่มยอดขาย และขยายฐานลูกค้าที่เป็นกลุ่มชาวต่างชาติที่อาศัยในชุมชน

คำสำคัญ : ความต้องการเรียนภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ บทเรียนภาษาอังกฤษท้องถิ่น แรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ การสร้างมูลค่าเพิ่ม นวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Creating an English Communicative Innovation for Organic Rice Farmers and Entrepreneurs to Promote Value Addition in Luang Neua Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province
Abstract :

The study was conducted to survey the English language needs of organic rice farmers, chief agricultural officers, rice entrepreneurs, and Thai street dessert vendors and Thai rice products in order to design lessons based on the learners’ need to use authentic English. The populations in the study were organic rice farmers, chief agricultural officers, rice entrepreneurs, and vendors of Thai street desserts and products living in Luang Neau Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province. The purposive sampling method was applied to select 52 participants as the sample group. The instruments used were a needs survey and semi-structured interviews. The researcher used descriptive statistics gained from the needs survey for quantitativedata analysis such as frequency and percentage as well as means and standard deviation. Content analysis, using hyper research 2.8 software, was used to analyze qualitative data gained from the interview. The findings showed that the majority of the populations were 50 – 65 years old and that they had high needs to develop their English language speaking and listening skills. They reported they need English lessons about Thai local topics on authentic/real-life topics such as Thai desserts and products made from Thai rice as well as communicative language for use in local markets. When asked and interviewed about the extent of their motivation, it was found that they had instrumental motivation and positive attitudes toward learning English, believing that being able to communicate in English can better their standard of living and enable them to earn more money. The results from needs survey were then used to design the lessons and mobile language application for self-study which is another recent form of innovation for English language learning. This is believed to promote value addition, resulting from English communicative competence, for the purpose of increasing the sales and reaching more buyers who do not speak and understand Thai language, living in the community.

Keyword : English Language Needs analysis, English for Specific Purposes, English lessons about Thai local topics, Motivation in English language learning, Value adding, English communicative innovation
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดาราณี ชุมทอง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะศิลปศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
286,300.00
   รวมจำนวนเงิน : 286,300.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
17 สิงหาคม 2566
วารสารที่ตีพิมพ์ : The New English Teacher 
ฉบับที่ : Vol. 17 No. 2 (2023): The New English Teacher
หน้า : 71-102
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : Assumption University, Graduate School of English
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
2 ตุลาคม 2563
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : เชิงพาณิชย์
9 กันยายน 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
1 กรกฎาคม 2565
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023